สรุปบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หมายถึง ระบบที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
ทั้งภายในและภายนอกองค์การอย่างมีหลักเกณฑ์
ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ประกอลด้วยส่วนประกอบสำคัญ 3 ประการดังต่อไปนี้
- เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หมายถึง โครงสร้างพื้นฐานที่รวมเข้าเป็น MIS และช่วยให้สารสนเทศดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่
-เครื่องมือ
2. วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลผล โดยจัดลำดับวิธีการประมวลผลข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ
3. การแสดงผลลัพธ์ ได้จากการประมวลผลของสารสนเทศอยู่ในรูปแบบรายงานต่างๆ
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบ ที่ถูกเก็บรวบรวมจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ โดยข้อมูลยังไม่มีความหมายในการนำไปใช้งาน
สารสนเทศ หมายถึง ผลลัพธ์ที่เกิดจากการประมวลผลข้อมูลดิบที่จัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบ โดยผลลัพธ์สามารถนำไปไปประกอบการทำงานหรือสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร
คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
- ถูกต้อง(Accurate)
- ทันเวลา(Timeliness)
- สอดคล้องกับงาน(Relevance)
- สามารถตรวจสอบได้(Verifiable)
คุณสมบัติของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS) มีดังนี้
- ความสามารถในการจัดการข้อมูล
- ความปลอดภัยของข้อมูล
- ความยืดหยุ่น
- ความพอใจของผู้ใช้
ประโยชน์ของระบบสารสนเทศเพื่อการาจัดการ
- ช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์
- ช่วยให้ผู้ใช้ในการกำหนดเป้าหมายกลยุทธ์และการาวางแผนปกิบัติการ
- ช่วยผู้ใช้ในการตรวจสอบผลการดำเนินงาน
- ช่วยผู้ใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
- ช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคระห์ปัญหาหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น
- ช่วยลดค่าใช้จ่าย
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศเพื่อการจัดการ
- หัวหน้างานระดับต้น มีหน้าที่ดูแลการปฏิบัติงานแบบวันต่อวัน
- ผู้จัดการระดับกลาง ทำหน้าที่ควบคุมประสานงานระหว่างหัวหน้างานระดับปฏิบัติการและผู้บริหารระดับสูง
- ผู้บริหารระดับสูง เป็นกลุ่มบุคคลกำหนดวิศัยทัศน์ ทิศทาง วางนโยบาย และแผนงานระยะยาวขององค์กร
โครงสร้างของหน่วยงานสารสนเทศ
โดยทั่วไปแล้วโครงสร้างของหน่วยงานสารสนเทศในองค์การจะแบ่งเป็น 3 ส่วนดังนี่้
- หน่วยวิเคราะห์และออหแบบระบบ มีหน้าที่ในการศึกษา วิเคระห์ พัฒนา และวางระบบงานคอมพิวเตอร์
- หน่วยเขียนชุดดคำสั่ง มีหน้าที่นำระบบงานที่ได้รับการออกแบบมาทำการเขียนหรือพัฒนาชุดคำสั่ง เพื่อใช้งานกับระบบคอมพิวเตอร์
- หน่วยปฏิบัติการาและบริการ ทำหน้าที่ควบคุมและจัดการให้เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สนับสนุน สามารถทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
บุคลากรในหน่วยงานสารสนเทศ
- หัวหน้าพนักงานสารสนเทศ
- นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ
- ผู้เขียนชุดคำสั่ง
- ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์
- ผู้จัดตารางเวลา
- พนักงานจัดเก็บและรักษา
- พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จริยธรรมหมายถึง ความถูกต้องหรือไม่ถูกต้องที่เป็้นตัวแทนศีลธรรมที่ีเป็นอิสระในการเลือกที่เป็นการชักนำพฤติกรรมบุคคล สามารถแบ่งได้เป็น 4 ส่วนคือ
- ความเป็นส่วนตัว
- ความถูกต้อง
- ความเป็นเจ้าของ
- ความถูกต้อง
ผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- เพิ่มความสะดวกสบายในการสื่อสาร การบริหาร และการผลิต
- เกิดสังคมแห่งการสื่อสารและสังคมโลก
- มีระบบผู้เชี่ยวชาญต่างๆในฐานความรูั้
- เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างโอกาสให้คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาส
- พัฒนาคุณภาพการาศึกษาโดยเกิดการศึกษาในรูปแบบใหม่
- การทำงานเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
- ผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากการบริโภคสินค้าที่หลากหลาย และมีคุณภาพดีขึ้น
นอกจากนี้ยังสามารถจำแนกผลกระทบทางลบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้ดังนี้
- ก่อให้ดเกิดความเครียดในสังคม
- ก่อให้เกิดการรับวัฒนธรรมหราือแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของคนในสังคมโลก
- ก่อให้ผลด้านศีลธรรม
- การมีส่วนร่วมของคนในสังคมน้ือยลง
- กาารละเมิดสิทธิ์เสรีภาพส่วนบุคคล
- เกิดช่องว่างทางสังคม
- เกิดการต่อต้้านเทคโนโลยี
- อาชญากรรมบนเครือข่าย
- ก่อให้เกิดปัญปาด้านสุขภาพ
คำถามท้ายบทที่
2
1. นิยามความหมายและยกตัวอย่างของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ หมายถึง
ระบบที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
ทั้งภายในและภายนอกองค์การอย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อนำมาประมวลผลและจัดรูปแบบให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการทำงาน
และการตัดสินใจด้านต่างๆ ของผู้บริหาร
2. ข้อมูลและสารสนเทศมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร?
ข้อมูลกับสารสนเทศมีความแตกต่างกันตรงที่ ข้อมูล คือ
ข้อมูลดิบที่ถูกเก็บรวบรวมจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ แต่สารสนเทศ
คือ ผลลัพธ์ที่เกิดจากการประมวลผลข้อมูลดิบที่ถูกจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบ
ข้อมูลและสารสนเทศสามารถใช้ทดแทนกันในหลายโอกาส
แต่บางครั้งอาจมีความหมายแตกต่างกันมาก
3.
สารสนเทศที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร?
1.
ความสามารถในการจัดการข้อมูล (Data
Manipulation)
2. ความปลอดภัยของข้อมูล
(Data Security)
3. ความยืดหยุ่น (Flexibility)
4. ความพอใจของผู้ใช้ (User Satisfaction)
4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีประโยชน์ต่อการประกอบธุรกิจอย่างไร?
1.
ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์
2.
ช่วยผู้ใช้ในการกำหนดเป้าหมายกลยุทธ์และการวางแผนปฏิบัติการ
3.
ช่วยผู้ใช้ในการตรวจสอบผลการดำเนินงาน
4.
ช่วยผู้ใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
5.
ช่วยให้ผู้ใช้สามารถวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น
6. ช่วยลดค่าใช้จ่าย
5.
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการที่มีประสิทธิภาพต้องประกอบด้วยคุณสมบัติอะไรบ้าง?
1.
ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูล
2. ความปลอดภัยของข้อมูล
3. ความยืดหยุ่น
4. ความพอใจของผู้ใช้
6. บุคคลที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีกี่ระดับ
อะไรบ้าง?
มี 3 ระดับ คือ
1. หัวหน้างานระดับต้น
2. ผู้จัดการระดับกลาง
3. ผู้บริหารระดับสูง
7.
จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการใช้งานระบบสารสนเทศและระดับของผู้บริหารในองค์การ
1. หัวหน้างานระดับต้น
เป็นบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลการปฏิบัติงานแบบวันต่อวัน
จึงต้องการข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงอย่างละเอียด
2. ผู้จัดการระดับกลาง
เป็นบุคคลที่ทำหน้าที่ควบคุมและประสานงานระหว่างหัวหน้างานระดับปฏิบัติการและผู้บริหารระดับสูง
เพื่อให้การประสานงานในองค์การราบรื่น
งานของผู้บริหารระดับกลางจะเกี่ยวข้องกับการนำผลสรุปของข้อมูลที่เกิดจากการปฏิบัติงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ
มาวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางปรับปรุงการดำเนินงาน
เพ่อให้ได้ผลงานตรงตามเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ
3. ผู้บริหารระดับสูง
เป็นกลุ่มบุคคลที่ทำการกำหนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง วางนโยบาย
และแผนงานระยะยาวขององค์การ โดยอาศัยข้อสรุปและสารสนเทศจากกลุ่มผู้จัดการระดับกลาง
และผลการปฏิบัติงานขององค์การ
ตลอดจนนำข้อมูลสำคัญจากภายนอกองค์การเข้ามาร่วมในการวิเคราะห์
8. ผู้บริหารควรมีบทบาทต่อการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์การอย่างไร?
1.
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสร้างประสิทธิภาพ
และความพร้อมในการแข่งขันให้กับองค์การ
2.
เข้าใจความต้องการของระบบและองค์การในสภาพแวดล้อมยุคโลกาภิวัฒน์
3.
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพในการดำเนินงานทั่วทั้งองค์การ
4.
มีส่วนร่วมในการออกแบบและการพัฒนาโครงสร้างระบบสารสนเทศรวมขององค์การ
5.
บริหารและตัดสินใจในการสรรหาและคัดเลือกเทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อสารโทรคมนาคม
6.
การจัดและควบคุมผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อผู้เกี่ยวข้อง
7.
ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการทำงาน แก่ผู้ใช้อื่น
8.
เข้าใจประเด็นสำคัญด้านจริยธรรมที่ เกี่ยวกับการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
9.
โครงสร้างของหน่วยงานสารสนเทศแบ่งออกเป็นกี่ส่วน อะไรบ้าง?
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
ดังนี้
1.
หน่วยวิเคราะห์และออกแบบระบบ
2. หน่วยเขียนชุดคำสั่ง
3.
หน่วยปฏิบัติการและบริการ
10. บุคลากรของหน่วยงานสารสนเทศแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง?
แบ่งออกเป็น 7 ประเภท
1.
หัวหน้าพนักงานสารสนเทศ
2. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ
3. ผู้เขียนชุดคำสั่ง
4.
ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์
5. ผู้จัดตารางเวลา
6.
พนักงานจัดเก็บและรักษา
7.
พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
11.
เพราะเหตุใดผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศจะต้องตระหนักและให้ความสำคัญกับ
จริยธรรมและจรรยาบรรณ
ระบบข้อมูลสารสนเทศจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการดูแลรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
รวมทั้งสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง
โดยแผนกหรือฝ่ายสารสนเทศเพื่อการจัดการจะมีนโยบายที่แน่นอนในการจัดการข้อมูลให้เกิดความปลอดภัย
ใช้อย่างถูกต้อง และเป็นประโยชน์
ดังนั้นจริยธรรมจึงเป็นสิ่งสำคัญของผู้ที่ทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่จะต้องตระหนักและให้ความสำคัญ
12.
จงอธิบายตัวอย่างผลกระทบทางบวกและทางลบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางบวก
1.
เพิ่มความสะดวกสบายในการสื่อสาร การบริการ และการผลิต
2.
เกิดสังคมแห่งการสื่อสารและสังคมโลก
3.
มีระบบผู้เชี่ยวชาญต่างๆ ในฐานข้อมูลความรู้
4.
เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างโอกาสให้คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาสจาการพิการทางร่างกาย
5.
พัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยเกิดการศึกษาในรูปแบบใหม่
6. การทำงานเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น
7.
ผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากการบริโภคสินค้าที่หลากหลาย และมีคุณภาพดีขึ้น
ผลกระทบทางลบ
1.
ก่อให้เกิดการขึ้นในสังคม
2.
ก่อให้เกิดการรับวัฒนธรรมหรือแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของคนในสังคมโลก
3. ก่อให้เกิดผลด้านศีลธรรม
4.
การมีส่วนร่วมของคนในสังคมลดน้อยลง
5.
การละเมิดสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล
6. เกิดช่องว่างทางสังคม
7.
เกิดการต่อต้านเทคโนโลยี
8. อาชญากรรมบนเครือข่าย
9.
ก่อให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพ
สรุปบทที่3
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
1.ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ
2.ระบบจัดทำรายงานสำหรับการจัดการ
3.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
4.ระบบสารสนเทศสำนักงาน
การดำเนินงานขององค์การจะเกี่ยวข้องกับการส่งผ่าน การจัดเก็บ และการประมวลผลข้อมูลในปริมาณมาก ธุรกิจที่มีประสิทธิภาพต้องสามารถใช้และจัดเก็บข้อมูลที่มีให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยสามารถสนองความต้องการของปัญหาอย่างรวดเร็วและสอดคล้องกับสถานการณ์องค์การจึงต้องการระบบสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนให้การดำเนินงานในแต่ละวันราบรื่นและมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการจัดการข้อมูลช่วยให้การพัฒนาระบบปฏิบัติการทางธุรกิจหรือ TPS เป็นรูปธรรมและช่วยการทำงานประจำวันของธุรกิจ โดยที่ TPS มีหน้าที่หลักอยู่ 3 ประการ ต่อไปนี้
1. การทำบัญชี (Bookeeping) ทำหน้าที่ในการเก็บบันทึการปฏิบัติงานหรือเหตุการณ์ทางการบัญชีที่เกิดขึ้นในแต่ละวันขององค์การ โดยการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นมักจะเกี่ยวข้องกับบุคคล 2 กลุ่ม คือ ลูกค้า (Customer) และผู้ขายวัตถุดิบ (Supplier)
การดำเนินงานขององค์การจะเกี่ยวข้องกับการส่งผ่าน การจัดเก็บ และการประมวลผลข้อมูลในปริมาณมาก ธุรกิจที่มีประสิทธิภาพต้องสามารถใช้และจัดเก็บข้อมูลที่มีให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยสามารถสนองความต้องการของปัญหาอย่างรวดเร็วและสอดคล้องกับสถานการณ์องค์การจึงต้องการระบบสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนให้การดำเนินงานในแต่ละวันราบรื่นและมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการจัดการข้อมูลช่วยให้การพัฒนาระบบปฏิบัติการทางธุรกิจหรือ TPS เป็นรูปธรรมและช่วยการทำงานประจำวันของธุรกิจ โดยที่ TPS มีหน้าที่หลักอยู่ 3 ประการ ต่อไปนี้
1. การทำบัญชี (Bookeeping) ทำหน้าที่ในการเก็บบันทึการปฏิบัติงานหรือเหตุการณ์ทางการบัญชีที่เกิดขึ้นในแต่ละวันขององค์การ โดยการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นมักจะเกี่ยวข้องกับบุคคล 2 กลุ่ม คือ ลูกค้า (Customer) และผู้ขายวัตถุดิบ (Supplier)
2. การออกเอกสาร (Document
Issuance) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการออกเอกสารต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในแต่ละวันขององค์การ เช่น การออกใบรับส่งสินค้า (Invoice)
การออกเช็ค
ใบเสร็จรับเงิน หรือใบสั่งสินค้าต่าง ๆ เป็นต้น
3. การทำรายงานควบคุม (Control Riporting) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการออกเอกสารต่าง ๆ ที่มีผลมาจากการดำเนินงานขององค์การ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบและควบคุมการดำเนินงานขององค์การ เช่น การออกเช็คเงินเดือนพนักงานแต่ละคน ซึ่งก็จะสามารถทำการตรวจสอบความถูกต้องของจำนวนเงินทีจ่ายออกไป หรือการรายงานสิ่งที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน เป็นต้น
เราจะเห็นว่าเทคโนโลยีสารสนเทศได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญต่อการประกอบธุรกิจ ปัจจุบันระบบธุรกิจได้ถูกจัดรูปแบบให้เป็นมาตรฐานมากขึ้น เพื่อจะสามารถเชื่อมต่อ และใช้ข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงาน และผู้เกี่ยวข้องภายนอก
3. การทำรายงานควบคุม (Control Riporting) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการออกเอกสารต่าง ๆ ที่มีผลมาจากการดำเนินงานขององค์การ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบและควบคุมการดำเนินงานขององค์การ เช่น การออกเช็คเงินเดือนพนักงานแต่ละคน ซึ่งก็จะสามารถทำการตรวจสอบความถูกต้องของจำนวนเงินทีจ่ายออกไป หรือการรายงานสิ่งที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน เป็นต้น
เราจะเห็นว่าเทคโนโลยีสารสนเทศได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญต่อการประกอบธุรกิจ ปัจจุบันระบบธุรกิจได้ถูกจัดรูปแบบให้เป็นมาตรฐานมากขึ้น เพื่อจะสามารถเชื่อมต่อ และใช้ข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงาน และผู้เกี่ยวข้องภายนอก
ประโยชน์ของเทคโนโลนีสารสนเทศต่อการดำเนินงานทางธุรกิจ
องค์การเริ่มมีการนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
โดยเฉพาะระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้
ซึ่งจะช่วยลดปัญหาที่เกิดจากการใช้แรงงานมนุษย์เพียงอย่างเดียวได้ดังนี้
1. ความผิดพลาดที่เกิดจากความสะเพร่า โดยทั่วไปการดำเนินงานโดยใช้แรงงานมนุษย์อาจเกิดการผิดพลาดได้ง่าย ๆ เช่น การดูตัวเลขผิด การจดบันทึกข้อมูลสลับที่กัน หรือการหลงลืม เป็นต้น
1. ความผิดพลาดที่เกิดจากความสะเพร่า โดยทั่วไปการดำเนินงานโดยใช้แรงงานมนุษย์อาจเกิดการผิดพลาดได้ง่าย ๆ เช่น การดูตัวเลขผิด การจดบันทึกข้อมูลสลับที่กัน หรือการหลงลืม เป็นต้น
2. ใช้แรงงานมาก
บันทึกรายการของการดำเนินงานที่เกิดขึ้นในแต่ละวันเป็นงานทที่ละเอียด ซึ่งการบันทึกจะเป็นการทำงานที่ซ้ำ
ๆ กันและใช้แรงงานมาก
การนำระบบสารสนเทศมาประยุกต์จะช่วยให้ไม่ต้องทำงานซ้ำซ้อนและเสียแรงงานคนเกินความจำเป็น
3. การสูญหายของข้อมูล อาจเกิดจากการเก็บแฟ้มเอกสารผิดพลาด ทำให้ไม่สามารถค้นหาข้อมูลไดเมื่อผู้ใช้เกิดความต้องการเมื่อต้องการ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาความล่าช้าในการเรียกใช้ข้อมูล ตลอดจากความสูญหายของข้อมูลเพียงชั่วคราวหรืออย่างถาวร
3. การสูญหายของข้อมูล อาจเกิดจากการเก็บแฟ้มเอกสารผิดพลาด ทำให้ไม่สามารถค้นหาข้อมูลไดเมื่อผู้ใช้เกิดความต้องการเมื่อต้องการ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาความล่าช้าในการเรียกใช้ข้อมูล ตลอดจากความสูญหายของข้อมูลเพียงชั่วคราวหรืออย่างถาวร
4. การตอบสนองที่ล่าช้า
การทำงานโดยอาศัยแรงงานมนุษย์จะล่าช้ากว่าการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วยมาก
วงจรการทำงานของระบบปฏิบัติงานทางธุรกิจ
TPS จะถูกพัฒนาขึ้น เพื่อให้ทำงานเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานประจำวันขององค์การ ซึ่งมีลักษณะร่วมที่ต้องปฏิบัติตามรอบระยะเวลา หรือขั้นตอนการปฏิบัติที่กำหนดไว้
1.
การป้อนข้อมูล (Data Entry) เป็นส่วนแรกหรือจุดเริ่มต้นของวงจรการปฏิบัติงานทางธุรกิจ
2. การประมวลผลหรือการปฏิบัติงานกับข้อมูล (Transaction
Processing) หลังจากการป้อนหรือเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลให้เหมาะที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะสามารถอ่านได้แล้ว
ขั้นต่อไปจะเป็นการนำเอาข้อมูลที่จัดเก็บไปประมวลผล ซึ่งผู้ใช้สามารถทำได้ 2
วิธี
ต่อไปนี้
2.1 แบบครั้งต่อครั้ง (Batch) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ระยะหนึ่ง เพื่อรอให้มีปริมาณข้อมูลเพียงพอแล้วจึงทำการประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศสำหรับการใช้งาน
2.1 แบบครั้งต่อครั้ง (Batch) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ระยะหนึ่ง เพื่อรอให้มีปริมาณข้อมูลเพียงพอแล้วจึงทำการประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศสำหรับการใช้งาน
2.2 แบบตามเวลาที่เกิดขึ้นจริง (Real
Time) การประมวลผลข้อมูลจะเกิดขึ้นทันทีที่ข้อมูลถูกป้อนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
3.
การปรับปรุงฐานข้อมูล (File
/ database Updating) ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลจะถูกนำไปปรับปรุง และจัดเก็บอย่างเป็นระบบในฐานข้อมูลหือไฟล์ต่าง
ๆ
4. การผลิตรายงานและเอกสาร (Document
and Generation) เป็นการผลิตรายงานและเอกสารอ้างอิงภายในองค์การ
ซึ่งแสดงถึงการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นของ
4.1 เอกสารที่เกี่ยวกับสารสนเทศ (Information Document)
4.1 เอกสารที่เกี่ยวกับสารสนเทศ (Information Document)
4.2
เอกสารการปฏิบัติการ (Action
Document
4.3
เอกสารหมุนเวียน (Circulating
Document)
5. การให้บริการสอบถาม
(Inquiring Processing) ปกติองค์การธุรกิจจะจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานไว้เป็นหลักฐาน
ซึ่งเกี่ยวข้องทั้งกับลูกค้าและผู้ขายวัตถุดิบ
ระบบย่อยของระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ
โครงสร้างชัดเจนตามความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งเราสามารถแบ่ง TPS ออกเป็นระบบย่อยตามหน้าที่ ต่อไปนี้
1. ระบบจ่ายเงินเดือน (Payroll Processing System) ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทำหน้าที่ควบคุมการจ่ายเงินเดือน รวมทั้งคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายของพนักงานแต่ละคน
2.ระบบบันทึกคำสั่งซื้อ (Order Entry
System) ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทำหน้าที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบันทึกการสั่งซื้อสินค้าของลูกค้า
3. ระบบสินค้าคงคลัง (Inventory System)
ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทำหน้าที่ดูแลให้สินค้าแต่ละชนิดมีปริมาณและสภาพที่เหมาะสมต่อการดำเนินงานของธุรกิจ
4.
ระบบใบกำกับสินค้า (Invoicing
System) ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อทำหน้าที่ออกใบห่อของ (Packing Slip) และใบกำกับสินค้าที่จะส่งไปยังลูกค้า
เพื่อให้สะดวกต่อการอ้างอิงและตรวจสอบในการจัดส่งและตรวจรับสินค้า
5. ระบบส่งสินค้า (Shipping System) จะควบคุมให้การจัดส่งสินค้าที่ได้รับการบรรจุหีบห่ออย่างดีจากคลังสินค้าให้ถึงมือผู้รับตามวิธีการที่กำหนด
5. ระบบส่งสินค้า (Shipping System) จะควบคุมให้การจัดส่งสินค้าที่ได้รับการบรรจุหีบห่ออย่างดีจากคลังสินค้าให้ถึงมือผู้รับตามวิธีการที่กำหนด
6.
ระบบบัญชีลูกหนี้ (Accounts
Receivable System) ทำหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับการสั่งซื้อสินค้า การชำระเงิน และยอดงบดุลของลูกค้าแต่ละคน
7. ระบบสั่งซื้อสินค้า (Purchasing
System) ถูกพัฒนาให้มีหน้าที่จัดซื้อสินค้าตามความต้องการในการดำเนินธุรกิจขององค์การ
8. ระบบรับสินค้า (Receiving
System) เป็นระบบสารสนเทศที่อยู่ในแผนกตรวจรับสินค้า
โดยระบบรับสินค้าถูกพัฒนาให้ทำหน้าที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการตรวจรับสินค้าที่ส่งมาจากผู้ขายวัตถุดิบ
9. ระบบบัญชีเจ้าหนี้ (Account
Payable) เป็นระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นให้มีหน้าที่ช่วยผู้ใช้ดูแลการจ่ายเงินให้แก่ผู้ขายวัตถุดิบตามใบกำกับสินค้าที่ส่งมาพร้อมสินค้า
10. ระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (General
Ledger System) ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลทางการบัญชีจากระบบย่อยอื่น ๆ
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ
ผู้จัดการเป็นบุคคลสำคัญของแต่ละหน่วยงาน เนื่องจากผู้จัดการจะมีหน้าที่ในการวางแผนจัดระบบงาน และควบคุมให้งานบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ โดยผู้จัดการต้องตัดสินใจในปัญหา หรือทางเลือกในการดำเนินงานของหน่วยงาน
MRS จะรวบรวมและประมวลผลข้อมูลแล้วจัดผลลัพธ์ในรูปรายงานเสนอต่อผู้จัดการ
ปัจจุบัน MRS จะเป็นประโยชน์มากสำหรับผู้บริหารในการวางแผน การตรวจสอบ
และการควบคุมให้การดำเนินงานของหน่วยงานเป็นไปตามที่ผู้จัดการกำหนด โดยปกติ MRS
สมควรต้องมีคุณสมบัติสำคัญ
ดังต่อไปนี้
1. สามารถที่จะสนับสนุนการตัดสินใจทั้งที่เป็นแบบโครงสร้างและกึ่งโครงสร้างอย่างมีประสิทธิภาพ
1. สามารถที่จะสนับสนุนการตัดสินใจทั้งที่เป็นแบบโครงสร้างและกึ่งโครงสร้างอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ผลิตเอกสารหรือรายงานตามตารางที่กำหนด
และนำเสนอให้ผู้จัดการหรือผู้ใช้ เพื่อทำการตรวจสอบ และเก็บไว้เป็นหลักฐานอ้างอิง
3. ถูกผลิตออกมาในรูปแบบที่คงที่หรือถูกกำหนดไว้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถนำไปใช้งานตามความต้องการ
3. ถูกผลิตออกมาในรูปแบบที่คงที่หรือถูกกำหนดไว้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถนำไปใช้งานตามความต้องการ
4. สารสนเทศที่บรรจุอยู่ในรายงานหรือเอกสารมักจะเป็นสารสนเทศทีเกิดขึ้นในอดีตมากกว่าที่จะสัมพันธ์กับอนาคต
โดย MRS จะรวบรวมและประมวลผลข้อมูลที่เกิดขึ้นแล้วเสนอต่อผู้จัดการ
เพื่อทำการศึกษา วิเคราะห์ และตัดสินใจ
5. บ่อยครั้งที่รายงานหรือเอกสารจะถูกผลิตในรูปของกระดาษ
5. บ่อยครั้งที่รายงานหรือเอกสารจะถูกผลิตในรูปของกระดาษ
ประเภทของรายงาน
โดยที่เราสามารถแบ่งรายงานที่ผลิตโดย MRS ออกได้เป็น 4 ประเภท ดังต่อไปนี้
1. รายงานที่ออกตามตาราง (Schedule Report) เป็นรายงานที่จัดทำขึ้นตามระยะเวลาที่กำหนดแน่นอน
2. รายงานที่ออกในกรณีพิเศษ (Exception
Report) เป็นรายงานที่จัดทำขึ้นเมื่อมีสิ่งผิดปกติหรือปัญหาเฉพาะหน้าเกิดขึ้น
3.รายงานที่ออกตามความต้องการ (Demand
Report) เป็นรายงานที่จัดทำขึ้นตามความต้องการของผู้บริหาร
4.รายงานที่ออกเพื่อพยากรณ์ (Predictive
Report) เป็นรายงานที่ให้ข้อสารสนเทศที่ช่วยในการตัดสินในของผู้บริหาร
คุณสมบัติของสารสนเทศในระบบจัดทำรายงาน
ซึ่งสารสนเทศที่มีคุณภาพควรจะประกอบไปด้วยคุณสมบัติ
ต่อไปนี้
1. ตรงประเด็น (Relevance)
1. ตรงประเด็น (Relevance)
2. ความถูกต้อง (Accuracy)
3. ถูกเวลา (Timeliness)
4. สามารถพิสูจน์ได้ (Verifiability)
ประเภทของงานสำนักงาน
เราสามารถแบ่งประเภทของงานสำนักงานออกเป็น 5 ประเภท ต่อไปนี้
1. การตัดสินใจ (Decision Making)
2. การจัดการเอกสาร
(Document Handling)
3. การเก็บรักษา
(Storage)
4. การจัดเตรียมข้อมูล
(Data Manipulation
5. การติดต่อสื่อสาร (Communication)
ระบบสารสนเทศสำหรับสำนักงาน
ระบบสารสนเทศสำหรับสำนักงานหรือ
OIS ถูกพัฒนาขึ้นโดยมีส่วนประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีการออกแบบเครื่องใช้สำนักงานตามหลักการยศาสตร์
(Ergonomics) เพื่อเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานในสำนักงาน โดยที่เราสามารถแบ่งแยกระบบสารสนเทศสำนักงานตามหน้าที่ออกเป็น
4 ประเภท ดังต่อไปนี้
1. ระบบจัดการเอกสาร (Document Management System) ถูกพัฒนาขึ้นให้มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับการจัดทำ กระจาย และเก็บรักษาเอกสารต่าง ๆ ภายในองค์การ โดยระบบจัดการเอกสารจะประกอบไปด้วยเครื่องมือสำคัญ ต่อไป
1.1 การประมวลคำ (Word Processing)
1. ระบบจัดการเอกสาร (Document Management System) ถูกพัฒนาขึ้นให้มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับการจัดทำ กระจาย และเก็บรักษาเอกสารต่าง ๆ ภายในองค์การ โดยระบบจัดการเอกสารจะประกอบไปด้วยเครื่องมือสำคัญ ต่อไป
1.1 การประมวลคำ (Word Processing)
1.2 การผลิตเอกสารหลายชุด
(Repropaphics)
1.3 การออกแบบเอกสาร
(Desktop Publishing)
1.4 การประมวลรูปภาพ
(Image Processing)
1.5 การเก็บรักษา
(Archival Storage
2. ระบบควบคุมและส่งผ่านข่าวสาร
(Message-handling System) เป็นระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้น
เพื่อควบคุมการกระจายและการใช้งานข่าวสารในสำนักงานโดยการจัดการข้อมูลให้เป็นระบบ
ซึ่งประกอบด้วยรูปแบบในการส่งผ่านข่าวสารที่สำคัญ ต่อไปนี้
2.1 โทรสาร (Facsimile) หรือที่เรียกว่าเครื่องแฟกซ์ (FAX)
2.1 โทรสาร (Facsimile) หรือที่เรียกว่าเครื่องแฟกซ์ (FAX)
2.2 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Mail) หรือที่เรียกว่า E-mail
2.3 ไปรษณีย์เสียง (Voice Mail)
2.3 ไปรษณีย์เสียง (Voice Mail)
3. ระบบประชุมทางไกล
(Teleconferencing) เป็นระบบเชื่อมโยงบุคคลตั้งแต่ 2 คน
ซึ่งอยู่กันคนละที่ให้สามารถประชุมหรือโต้ตอบกันได้โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางไปอยู่ในสถานที่เดียวกัน
ระบบประชุมทางไกลแบ่งออกได้เป็น 5 ประเภท ต่อไปนี้
3.1 การประชุมทางไกลที่ใช้ทั้งภาพและเสียง (Video Teleconferencing) เป็นระบบที่สนับสนุนให้คู่สนทนาสามารถมองเห็นและได้ยินเสียงซึ่งกันและกัน
3.1 การประชุมทางไกลที่ใช้ทั้งภาพและเสียง (Video Teleconferencing) เป็นระบบที่สนับสนุนให้คู่สนทนาสามารถมองเห็นและได้ยินเสียงซึ่งกันและกัน
3.2 การประชุมทางไกลใช้เฉพาะเสียง
(Audio Teleconferencing) เป็นระบบที่สนับสนุนให้คู่สนทนาสามารถได้ยินเสียง
และโต้ตอบกันอย่างมีประสิทธิภาพ
3.3 การประชุมโดยใช้คอมพิวเตอร์
(Computer Conferencing) เป็นระบบที่ใช้ส่งข่าวสาร หรือช่วยให้คู่สนทนาสามารถโต้ตอบ
และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน โดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.4 โทรทัศน์ภายใน
(In-house Television) กัน เพื่อให้สมาชิกภายในองค์การได้รับทราบ
และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันตลอดจนได้ผ่อนคลายความเครียดจากงานในช่วงเวลาพัก
3.5 การปฏิบัติงานผ่านระบบสื่อสารทางไกล
(Telecommuting) เป็นระบบที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีทางการสื่อสาร
ช่วยให้พนักงานสามารถที่จะปฏิบัติงานที่บ้านหรือในพื้นที่ห่างไกล โดยต่อเชื่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์การทำงานเข้ากับระบบเครือข่ายของสำนักงาน
4. ระบบสนับสนุนการดำเนินงานในสำนักงาน
(Office Support System) เป็นระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้น
เพื่อช่วยให้พนักงานในสำนักงานเดียวกันใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่ในสำนักงานให้เกิดประโยชน์ในการทำงานร่วมกันอย่างเต็มที่
โดยที่เราสามารถแบ่งระบบสนับสนุนการดำเนินงานในสำนักงานออกได้เป็นหลายระดับ
ดังต่อไปนี้
4.1 ชุดคำสั่งสำหรับกลุ่ม (Group Ware)
4.1 ชุดคำสั่งสำหรับกลุ่ม (Group Ware)
4.2 ระบบจัดระเบียบงาน
(Desktop Organizers)
4.3 คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ
(Computer Aided Design, CAD)
4.4 การนำเสนอประกอบภาพ
(Presentation Graphics)
4.5 กระดานข่าวสารในสำนักงาน
(In-house Electronic Bulletin Board)
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศถูกนำมาประยุกต์ให้เป็นประโยชน์ต่อการทำงานขององค์การอย่างมหาศาล
ในโลกธุรกิจการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศมิเพียงแต่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพต่องานประจำที่เกิดขึ้นในสำนักงาน
หรืองานบริหารทั่วไปเท่านั้น
แต่เทคโนโลยีสารสนเทศให้ประโยชน์ครอบคลุมการปฏิบัติงานขององค์การในมุมกว้าง
คำถามท้ายบทที่ 3
1. จงตอบคำถามข้อย่อยต่อไปนี้
1.1
จงอธิบายความหมายของระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ (TPS)
ตอบ TPS หมายถึงระบบสารสนเทศที่ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้น
เพื่อให้ทำงานเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานภายในองค์การ
โดยใช้เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์
เข้ามาเป็นอุปกรณ์หลักของระบบ โดยที่ TPS จะช่วยสนับสนุนให้การดำเนินงานในแต่ละวันขององค์การเป็นไปอย่างเรียบร้อยและเป็นระบบ
1.2 หน้าที่หลักของ TPS มีอะไรบ้าง
ตอบ TPS มีหน้าที่หลัก 3 ประการ คือ
1. การทำบัญชี (Bookeeping) ทำหน้าที่ในการเก็บบันทึกการปฏิบัติงานหรือเหตุการณ์ทางการบัญชีที่เกิดขึ้นในแต่ละวันขององค์การ
2. การออกเอกสาร (Document Issuance) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการออกเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในแต่ละวันขององค์การ
3. การทำรายงานควบคุม (Control Reporting) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการออกเอกสารต่างๆที่มีผลมาจากการดำเนินงานขององค์การ
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบและควบคุมการดำเนินงานขององค์การ
1.3
อธิบายส่วนประกอบของวงจรการทำงานของ TPS ว่าแตกต่างจากระบบจัดออกรายงานสำหรับการจัด
MRS อย่างไร
ตอบ วงจรการทำงานของ TPS คือ
1. การป้อนข้อมูล (Data Entry) เป็นส่วนแรกหรือจุดเริ่มต้มของวงจรการปฏิบัติงาน
2.
การประมวลผลหรือการปฏิบัติงานกับข้อมูล (Transaction
Processing) หลังจากทำการป้อนข้อมูล ขั้นตอนต่อไปคือการประมวลผล
-
แบบครั้งต่อครั้ง (Batch)
-
แบบตามเวลาที่เกิดขึ้นจริง (Real Time)
3.
การปรับปรุงฐานข้อมูล (File/Database Updating) ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลจะถูกนำไปปรับปรุงและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ
4.
การผลิตรายงานและอกสาร (Document ant Report Generation) เป็นเอกสารที่แสดงให้เห็นรายละเอียดการทำงานในแต่ละวันขององค์การ
-
เอกสารที่เกี่ยวกับสารสนเทศ (Information
Document)
-
เอกสารการปฏิบัติการ (Action Document)
-
เอกสารหมุนเวียน (Circulating Document)
5.
การให้บริการสอบถาม (Inquiring Processing)
TPS และ MRS ต่างก็มีการออกรายงานและเอกสารซึ่งดูเหมือนว่าระบบสารสนเทศทั้งสองระบบจะทำหน้าที่ซับซ้อนกัน
แต่เมื่อพิจารณาอย่างระเอียดจะพบว่าเอกสารและรายงานที่ออกโดย TPS และ MRS จะมีข้อแตกต่างกันคือ
MRS จะออกรายงานที่มีวัตถุประสงค์สำหรับสนับสนุนการบริหารและการจัดการของผู้บริหาร
ขณะที่ TPS จะออกรายงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงและควบคุมการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นในแต่ละวันขององค์การ
2. จงตอบคำถามข้อย่อยต่อไปนี้
2.1 อธิบายความหมายของระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ
(MRS)
ตอบ MRS หมายถึงระบบสารสนเทศที่ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้น เพื่อรวบรวมประมวลผล
จัดระบบ และจัดทำรายงานหรือเอกสาร
สำหรับช่วยในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร โดยที่ MRS จะจัดทำรายงานหรือเอกสาร และส่งต่อไปยังฝ่ายจัดการตามระยะเวลาที่กำหนด
หรือตามความต้องการของผู้บริหาร
2.2
รายงานที่ออกโดยระบบ MRS มีกี่ประเภท
และอะไรบ้าง จงอธิบายอย่างละเอียด
ตอบ รายงานที่ออกโดยระบบ MRS มี 4 ประเภท คือ
1.
รายงานที่ออกตามตาราง (Schedule Report) เป็นรายงานที่จัดทำขึ้นตามระยะเวลาที่กำหนดแน่นอน
โดยรายงานที่ออกตามตารางจะสรุปผลการดำเนินงานแต่ละช่วงที่ผ่านมา
มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ข้อมูลแก่ผู้จัดการในการวางแผน การตรวจสอบ
และการควบคุมงานให้เป็นไปตามเป้าที่ต้องการ
2.
รายงานที่ออกโดยกรณีพิเศษ (Exception
Report) เป็นรายงานที่จัดทำขึ้นเมื่อมีสิ่งผิดปกติหรือปัญหาเฉพาะหน้าเกิดขึ้น
โดยการนำเสนอรายงานพิเศษมีวัตถุประสงค์ต้องการให้ผู้บริหารรับทราบและทำการตัดสินใจแก้ไขและควบคุมผลประโยชน์ขององค์การ
3.
รายงานที่ออกตามความต้องการ (Demand Report) เป็นรายการที่จัดทำขึ้นตามความต้องการของผู้บริหาร
ซึ่งรายงานตามความต้องการจะแสดงข้อมูลเฉพาะเรื่องที่ผู้บริหารต้องการทราบ
เพื่อให้ผู้บริหารเกิดความเข้าใจในปัญหาและสามารถตัดสินใจอย่างเหมาะสม
4.
รายงานที่ออกเพื่อพยากรณ์ (Predictive
Report) เป็นรายงานที่ให้ข้อสารสนเทศที่ช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหาร
การพยากรณ์จะอาศัยเทคนิคการวิเคราะห์ทางสถิติและคณิตศาสตร์
หรือที่เรียกว่าการวิจัยขั้นดำเนินงานมาทำการประมวลผลข้อมูลในอดีต เพื่อช่วยให้ผู้บริหารสามารถมีแนวทางในการเลือกตัดสินใจ
2.3
สิ่งที่ควรมีในรายงานที่ออกโดยระบบ MRS มีอะไรบ้าง
ตอบ 1.
สามารถที่จะสนับสนุนการตัดสินในทั้งที่เป็นแบบโครงสร้างและแบบกึ่งโครงสร้างอย่างมมีประสิทธิภาพ
2.
ผลิตเอกสารหรือรายงานตามตารางที่กำหนด และนำเสนอให้ผู้จัดการทำการตรวจสอบ แก้ไข
และเก็บไว้เป็นหลักฐานอ้างอิง
3.
ถูกผลิตออกมาในรูปแบบที่คงที่หรือถูกกำหนดไว้
เพื่อให้ผู้ใช้สามารถนำไปใช้งานตามความต้องการ
ตลอดจนมีความคงที่ในการจัดเก็บและใช้งาน
4.
สารสนเทศที่บรรจุอยู่ในรายงานหรือเอกสารมักจะเป็นสารสนเทศที่เกิดขึ้นในอดีตมากกว่าที่จะสัมพันธ์กับอนาคต
5.
บ่อยครั้งที่รายงานหรือเอกสารจะถูกผลิตในรูปแบบของกระดาษ
ซึ่งสรุปข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการรู้
โดยเฉพาะผู้จัดการที่ยังไม่คุ้นเคยกับการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในการทำงาน
2.4 คุณสมบัติที่ดีของระบบ MRS มีอะไรบ้าง จงอธิบายอย่างละเอียด
ตอบ 1. ตรงประเด็น (Relevance) รายงานที่ออกควรที่จะบรรจุด้วยสารสนเทศที่เป็นที่ต้องการหรือเป็นประโยชน์ต่อเรื่องที่ผู้บริหารกำลังทำการตัดสินใจอยู่
2. ความถูกต้อง (Accuracy) รายงานที่ออกควรที่จะบรรจุด้วยสารสนเทศที่ถูกต้อง
ไม่มีข้อผิดพลาด และเป็นที่เชื่อถือได้ของผู้บริหาร
3. ถูกเวลา (Timeliness) รายงานที่ออกควรที่จะบรรจุสารสนเทศที่ทันสมัยและทันเวลา
เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจที่กำลังกระทำอยู่ในขณะนั้น
4. สามารถพิสูจน์ได้
(Verifiability) รายงานที่ออกควรบรรจุสารสนเทศที่สามารถตรวจสอบแหล่งที่มาว่าเป็นข้อมูลจากแหล่งใด
และมีความน่าเชื่อถือเพียงใด
3. จงอธิบายความหมายของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
ตอบ DDS หมายถึงระบบสารสนเทศที่จัดกาหรือจัดเตรียมข้อมูลสำคัญสำหรับผู้บริหาร
เพื่อจะช่วยในการตัดสินใจแก้ปัญหาหรือเลือกโอกาสที่เกิดขึ้น
ปกติปัญหาของผู้บริหารจะมีลักษณะที่เป็นกึ่งโครงสร้าง (Semi-structure) และไม่มีโครงสร้าง (Nonstructure) ซึ่งยากต่อการวางแนวทางรองรับหรือแก้ปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ประการสำคัญ DDS จะไม่ทำการตัดสินใจให้กับผู้บริหาร
แต่จะจัดหาและประมวลผลสารสนเทศหรือสิ่งต่างๆที่จำเป็นในการตัดสินใจให้กับผู้บริหาร
4. จงตอบคำถามข้อย่อยต่อไปนี้
4.1
อธิบายความหมายของระบบสารสนเทศสำนักงาน (OIS)
ตอบ OIS หมายถึงระบบสารสนเทศที่ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้น เพื่อช่วยให้การทำงานในสำนักงานมีประสิทธิภาพ
โดย OIS จะประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีเครื่องใช้สำนักงานที่ถูกออกแบบให้ปฏิบัติงานร่วมกัน
เพื่อให้การปฏิบัติงานในสำนักงานเกิดผลสูงสุด หรือสามารถกล่าวได้อีกนัยหนึ่งคือ
ระบบสารสนเทศสำนักงานมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะอำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร
ระหว่างพนักงานภายในองค์การเดียวกันและระหว่างองค์การ
รวมทั้งการติดต่อกับสิ่งแวดล้อมนอกองค์การ
4.2
อธิบายหน้าที่ของระบบจัดการเอกสารในระบบสารสนเทศสำนักงาน พร้อมยกตัวอย่าง
ตอบ ระบบจัดการเอกสาร
ถูกพัฒนาขึ้นให้มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับการจัดทำ กระจาย และเก็บรักษาเอกสารต่างๆ
ภายในองค์การ
ตัวอย่างเช่น
การประมวลคำ
ปัจจุบันหน่วยงานต่างๆมักจะพิมพ์เอกสารโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และชุดคำสั่งสำหรับการประมวลภาษา
(Word Processor) โดยที่ชุดคำสั่งสำหรับประมวลภาษาจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการพิมพ์งาน
เนื่องจากชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์ช่วยให้ผู้ใช้สามารถทำงานได้มากกว่าการใช้งานเครื่องพิมพ์ดีดธรรมดา
เช่น การจัดรูปแบบงานพิมพ์ การทำตาราง การจัดเรียงหน้า การจัดทำสารบัญ
และการตรวจสอบคำผิด เป็นต้น ซึ่งจะช่วยให้การออกเอกสารมีคุณภาพ รวดเร็ว ถูกต้อง
และเป็นมืออาชีพ
4.3
อธิบายหน้าที่ของระบบควบคุมข่าวสารในระบบสารสนเทศสำนักงาน พร้อมยกตัวอย่าง
ตอบ ระบบควบคุมข่าวสาร
เป็นระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้น
เพื่อควบคุมการกระจายและการใช้งานข่าวสารในสำนักงานโดยการจัดการข้อมูลให้เป็นระบบ
ตัวอย่างเช่น โทรสาร (Facsimile) หรือทีเรียกว่า เครื่องแฟกซ์ (Fax) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่รู้จักกันดีในสำนักงาน
ปัจจุบันเครื่องโทรสารช่วยให้ข่าวสารข้อมูล
ซึ่งประกอบด้วยข้อความและรูปภาพบนกระดาษ
หรือในระบบข้อมูลขององค์การถูกส่งจากแหล่งหนึ่งไปสู่อีกแหล่งหนึ่งอย่างรวดเร็วและมีคุณภาพ
เทคโนโลยีเครื่องโทรสารช่วยให้การทำงานในสำนักงานคล่องตัว
ธุรกิจไม่ต้องรอเวลาในการส่งไปรษณีย์ หรือใช้พนักงานเดินเอกสาร (Messenger) ตลอดจนสามารถแน่ใจว่าผู้รับได้รับข่าวสารตามเวลาที่กำหนด
4.4
อธิบายหน้าที่ของระบบการประชุมทางไกลในระบบสารสนเทศสำนักงาน พร้อมยกตัวอย่าง
ตอบ ระบบประชุมทางไกล
เป็นระบบเชื่อมโยงบุคคลตั้งแต่ 2 คน ซึ่งอยู่กันคนละที่
ให้สามารถประชุมหรือโต้ตอบกันได้ โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางไปอยู่ในสถานที่เดียวกัน
ตัวอย่างเช่น
การประชุมทางไกลที่ใช้ทั้งภาพและเสียง (Video
Teleconferencing) เป็นระบบที่สนับสนุนให้คู่สนทนาสามารถมองเห็นและได้ยินเสียงซึ่งกันและกันได้
โดยรวมเอาเทคโนโลยีทางด้านเสียงและภาพโทรทัศน์เข้าด้วยกัน
ทำให้บุคคลที่อยู่ห่างกันสามารถสื่อสารและแสดงความคิดเห็นโต้ตอบรวดเร็ว
โดยต่างมีความรู้สึกเหมือนพบปะกันจริง
4.5
อธิบายหน้าที่ของระบบสนับสนุนการทำงานสำนักงานในระบบสารสนเทศสำนักงาน
พร้อมยกตัวอย่าง
ตอบ
ระบบสนับสนุนการดำเนินงานในสำนักงาน เป็นระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้น
เพื่อช่วยให้พนักงานเดียวกันใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่ในสำนักงานให้เกิดประโยชน์ในการทำงานร่วมกันอย่างเต็มที่
ซึ่งจะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการลงทุน และช่วยให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างเช่น
ชุดคำสั่งสำหรับกลุ่ม (Group Ware) เป็นระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยประกอบด้วยชุดคำสั่งประยุกต์รวมกัน
เพื่อที่จะสนับสนุนให้พนักงานสามารถใช้บริการของอุปกรณ์หรือชุดคำสั่งที่ช่วยอำนวยความสะดวกในองค์การร่วมกัน
เช่น อีเมล เวิร์ดโปรเซสซิ่ง แฟกซ์ และไปรษณีย์ เสียง เป็นต้น
สรุปบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
เป็นกระบวนการที่ใช้เทคนิคการศึกษา การวิเคราะห์
และการออกแบบระบบสารสนเทศขององค์การ ให้สามารถดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ
ความสำคัญของผู้ใช้ต่อการพัฒนาระบบ
ผู้ใช้ระบบหมายถึงผู้จัดการที่ควบคุมและดูแลระบบสารสนเทศขององค์การหรือเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานกับสารสนเทศ
เมื่อเริ่มต้นที่จะพัฒนาระบบ
ผู้ใช้ในฐานะบุคคลที่มีประสบการณ์ตรงกับระบบงานจะต้องให้ข้อมูลสำคัญแก่ทีมงานพัฒนาระบบ
โดยแจกแจงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลดังนี้
1.สารสนเทศที่หน่วยงานหรือองค์การต้องการ
2.ผู้ใช้ระบบไม่พอใจต่อสิ่งใด
3.ผู้ใช้ระบบมีความต้องการให้ระบบใหม่มีรูปแบบหรือคุณลักษณะอย่างไร
สามารถทำงานได้อย่างไร
ข้อบกพร่องของระบบสารสนเทศในการนำเนินการขององค์การ
ปัญหาหรือข้อบกพร่องที่อาจเกิดขึ้นกับระบบสารสนเทศอาจมีดังนี้
1.ความต้องการ
2.กลยุทธ์
3.เทคโนโลยี
4.ความซับซ้อน
5.ความผิดพลาด
6.มาตรฐาน
ปัจจัยในการพัฒนาระบบ
1.ผู้ใช้ระบบ สมควรต้องมีส่วนร่วมตลอดกระบวนการพัฒนาระบบ
2.การวางแผน พัฒนาระบบอย่างรอบคอบและเป็นขั้นตอน
3.การทดสอบ
ชุดคำสั่งให้สอดคล้องกับแนวทางการออกแบบระบบ
4.การจัดเก็บเอกสาร ต้องสมบูรณ์ ชัดเจน ถูกต้อง
ง่ายต่อการค้นหา
5.การเตรียมความพร้อม มีการวางแผน
สร้างความเข้าใจและฝึกอบรมผู้ใช้ระบบ
6.การตรวจสอบและประเมินผล โดยดำเนินการเป็นระยะๆ
ภายหลังจากติดตั้งระบบ
7.การบำรุงรักษา
ทำให้ระบบไม่บกพร่องและสามารถใช้งานเต็มที่
8.อนาคต เตรียมพร้อมสำหรับพัฒนาการในอนาคต
นักวิเคราะห์ระบบ
การทำงานของ SA จะมีบทบาทสำคัญ 3 ประการ ดังนี้
1.ที่ปรึกษา
เป็นที่ปรึกษาด้านการปรับระบบงานขององค์การ
2.ผู้เชี่ยวชาญ ให้คำแนะนำด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.ตัวแทนการเปลี่ยนแปลง ช่วยให้ผู้ใช้ระบบมีทัศนคติที่ดีขึ้น
หน้าที่ของนักวิเคราะห์ระบบ
นอกจากการวางแผน
การวิเคราะห์ระบบ และการออกแบบระบบ
นักวิเคราะห์ระบบยังมีหน้าที่สำคัญที่จะต้องดำเนินการ ดังนี้
1.ติดต่อประสานงานกับผู้ใช้ในหน่วยงานต่างๆ
2.รวบรวมข้อมูล
ของระบบงานเดิมเพื่อให้ทราบปัญหาที่เกิดขึ้น
3.วางแผนในแต่ละขั้นตอนของงานให้สอดครล้องกับความต้องการปัจจุบัน
4.ทำการออกแบบได้ตรงตามต้องการ
5.วิเคราะห์
เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายกับผลประโยชน์ที่ได้รับ
6.วิเคราะห์ข้อกำหนดด้านฐานข้อมูล
7.ทำเอกสารประกอบในแต่ละขั้นตอนโดยละเอียด
8.กำหนดลักษณะของเครือข่ายที่ใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
9.สร้างแบบจำลองของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น
10.ติดตั้งและทำการปรับเปลี่ยนระบบ
11.จัดทำแบบสอบถาม
12.บำรุงรักษาและประเมินผล
13.เป็นผู้ให้คำปรึกษา
ทีมงานพัฒนาระบบ
1.คณะกรรมการดำเนินงาน
2.ผู้จัดการระบบสารสนเทศ
3.ผู้จัดการโครงการ
4.นักวิเคราะห์ระบบ
5.นักเขียนโปรแกรม
6.เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูล
7.ผู้ใช้และผู้จัดการทั่วไป
วิธีพื้นฐานในการพัฒนาระบบ
วิธีพื้นฐานในการพัฒนาระบบแบ่งได้
4 วิธีดังนี้
1.วิธีเฉพาะเจาะจง แก้ปัญหาในด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ
2.วิธีสร้างข้อมูล เพื่อให้สามารถรวบรวม จัดเก็บ และประมวลผลข้อมูลได้
3.วิธีจากล่างขึ้นบน เป็นการพัฒนาระบบจากระบบเดิมไปสู่ระบบใหม่
4.วิธีจากบนลงล่าง เป็นวิธีพัฒนาจากความต้องการของผู้บริหาร
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
1.การสำรวจเบื้องต้น
2.การวิเคราะห์ความต้องการ
3.การออกแบบระบบ
4.การจัดหาอุปกรณ์ของระบบ
5.การติดตั้งระบบและบำรุงรักษา
รูปแบบวงจรการพัฒนาระบบ
รูปแบบน้ำตก
รูปแบบวิวัฒนาการ
รูปแบบค่อยเป็นค่อยไป
รูปแบบเกลียว
การปรับเปลี่ยนระบบ
สามารถทำ 4 วิธีดังนี้
การปรับเปลี่ยนโดยตรง
การปรับเปลี่ยนแบบขนาน
การปรับเปลี่ยนแบบระยะ
การปรับเปลี่ยนแบบนำร่อง
คำถามท้ายบทที่
4
1. ผู้ใช้มีความสำคัญต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างไรบ้าง ?
ตั้งแต่เริ่มที่จะพัฒนาระบบใหม่ให้กับองค์การ โดยบุคคลหรือกลุ่มควรที่จะมีการพัฒนาระบบหรือเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของทีมงาน
ผู้พัฒนาระบบ เพื่อให้การพัฒนาระบบใหม่สำเร็จด้วยดีทั้งในด้านงบประมาณ
กรอบของระยะเวลา และตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
2. ปัจจัยที่ช่วยให้การพัฒนาระบบสารสนเทศประสบความสำเร็จมีอะไรบ้าง?
1. ผู้ใช้ระบบ
2. การวางแผน
3. การทดสอบ
4. การจัดเก็บเอกสาร
5.
การเตรียมความพร้อม
6.
การตรวจสอบและประเมินผล
7. การบำรุงรักษา
8. อนาคต
3. หน้าที่สำคัญของนักวิเคราะห์ระบบในการพัฒนาระบบสารสนเทศมีอะไรบ้าง ?
1.
ติดต่อประสานงานกับผู้ใช้ระบบในหน่วยงานต่าง ๆ
รวมทั้งผู้บริหารทุกระดับที่เกี่ยวข้องตลอดช่วงระยะเวลาในการพัฒนาระบบ
2.
รวบรวมข้อมูลของระบบเดิมเพื่อให้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น
และนำไปใช้เป็นข้อมูลส่วนหนึ่งในการพัฒนาระบบใหม่
3. วางแผนในแต่ละขั้นตอนของงานให้สอดคล้องกับความต้องการในปัจจุบัน
และวางแผนให้สอดคล้องกับการขยายตัวขององค์การในอนาคตด้วย
4.
ทำการออกแบบการทำงานของระบบใหม่ให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ระบบ
5.
วิเคราะห์เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายกับผลประโยชน์ที่จะได้รับ
6. วิเคราะห์ข้อกำหนดด้านฐานข้อมูล
รวมทั้งการพัฒนาโครงสร้างฐานข้อมูลที่สามารถใช้กับงานต่าง ๆ ในระบบได้
และรองรับอนาคต
7.
ทำเอกสารประกอบในแต่ละขั้นตอนของการะ เคราะห์ระบบโดยละเอียด
8. กำหนดลักษณะของเครือ
ข่ายที่ใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
9. สร้างแบบจำลองของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น
และร่วมกันทดสอบโปรแกรมที่พัฒนา
10.
ติดตั้งและทำการปรับเปลี่ยนระบบรวม ถึงการเตรียมแผนรองรับในการปรับเปลี่ยนระบบ
11.
จัดทำแบบสอบถามถึงการดำเนินงานของระบบใหม่
ที่ได้ติดตั้งไปแล้วในรูปแบบของรายงานผลการใช้งาน
12. บำรุงรักษาและประเมินผลการปฏิบัติงานของระบบ
เป็นการดูแลระบบเมื่อมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น รวมทั้งเป็นการปรับปรุงดัดแปลง
หรือแก้ไขทั้งโปรแกรมและขั้นตอนการทำงานของระบบ
เพื่อให้มีการทำงานที่ถูกต้องมากที่สุด
13. เป็นผู้ให้คำปรึกษา
ผู้ประสานงาน และผู้แก้ปัญหา ให้แก่ผู้ใช้ระบบและทุกคนเกี่ยวข้องกับระบบ
4.ทีมงานพัฒนาระบบสารสนเทศมีลักษณะอย่างไร ประกอบด้วยบุคคลใดบ้าง
เพราะเหตุใดจึงต้องปฏิบัติงานร่วมกัน?
ทีมงานพัฒนาระบบ
เป็นกลุ่มบุคคลที่มีหน้าที่และความรับผิดชอบ
และมีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการพัฒนาระบบ ปกติการออกแบบและพัฒนาระบบสานสนเทศในองค์การขนาดใหญ่
จะต้องมีการทำงานร่วมกันของสมาชิกจากหลายส่วน โดยจัดรูปแบบการทำงานแบบโครงการ
เนื่องจากกระบวนการปฏิบัติงานที่ซับซ้อน และขอบเขตงานหลายครอบคลุมไปหลายส่วนงาน
ประกอบไปด้วยบุคคลดังนี้
1. คณะกรรมการดำเนินงาน
2. ผู้จัดการระบบสารสนเทศ
3. ผู้จัดการโครงการ
4. นักเขียนโปรแกรม
5. นักวิเคราะห์ระบบ
6.
เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูล
7.
ผู้ใช้และผู้จัดการทั่วไป
5. วิธีพื้นฐานที่ใช้ในการพัฒนาระบบสารสนเทศมีกี่วิธี อะไรบ้าง ?
4 วิธีดังนี้
1. วิธีเฉพาะเจาะจง
2. วิธีสร้างฐานข้อมูล
3. วิธีจากล่างขึ้นบน
4. วิธีจากบนลง
6. การพัฒนาระบบสารสนเทศประกอบด้วยกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง?
5 ขั้นตอนดังนี้
1. การสำรวจเบื้องต้น
2.
การวิเคราะห์ความต้องการ
3. การออกแบบระบบ
4. การจัดหาอุปกรณ์ของระบบ
5.
การติดต่อระบบและการบำรุงรักษา
7. ทีมงานพัฒนาระบบสมควรต้องทำอะไรบ้างในขั้นสำรวจเบื้องต้น?
การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
สารสนเทศ โดยผู้พัฒนาระบบจะสำรวจหาข้อมูลในประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับระบบงาน ได้แก่
ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ความเป็นไปได้ของการพัฒนาระบบที่ต้องการ เป็นต้น
8. ทีมงานพัฒนาระบบสมควรต้องทำอะไรบ้างในขั้นวิเคราะห์ความต้องการ?
มุ่งเจาะลึกลงในรายละเอียดที่ มากกว่าในขั้นสำรวจเบื้องต้น
โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ ความต้องการของผู้ใช้ การใช้งานในแต่ละด้านของระบบ ใหม่ ข้อเด่นและข้อด้อยของวิธีการทำงานในปัจจุบัน
ตลอดจนการจัดทำรายงานสรุป เพื่อนำเสนอต่อฝ่ายจัดการสำหรับทำการตัดสินใจ
9.
ทีมงานพัฒนาระบบสมควรต้องทำอะไรบ้างในขั้นออกแบบระบบ?
ทีมงานพัฒนาระบบจะต้องกำหนดส่วยประกอบของระบบทั้งในด้านของอุปกรณ์และชุดคำสั่ง
ตลอดจนบริการต่าง ๆ ที่ต้องการจากผู้ขาย
ปกติทีมงานพัฒนาระบบจะต้องทำการจัดหาสิ่งที่ต้องการ โดยเปิดให้มีการยื่นข้อเสนอ
จากผู้ขายอุปกรณ์ต่าง ๆ
โดยทีมพัฒนาระบบจะพิจารณาตัดสินข้อเสนอของผู้ขายแต่ละรายเพื่อนำอุปกรณ์และ
ส่วนประกอบของระบบมาติดตั้งและพัฒนาเป็นระบบใหม่ต่อไป
10. ทีมงานพัฒนาระบบสมควรต้องทำอะไรบ้างในขั้นจัดหาอุปกรณ์ของระบบ?
ทีมงานพัฒนาระบบจะ
ต้องกำหนดส่วนประกอบของระบบทั้งในด้านของอุปกรณ์และชุดคำสั่ง ตลอดจนบริการต่าง ๆ
ที่ต้องการจากผู้ขาย ปกติทีมงานพัฒนาระบบต้องทำการจัดหามิ่งที่ต้องการ
โดยเปิดให้มีการยื่นข้อเสนอจากผู้ขายอุปกรณ์ต่าง ๆ
โดยทีมงานพัฒนาระบบจะพิจารณาตัดสินข้อเสนอของผู้ขายแต่ละรายเพื่อนำอุปกรณ์
และส่วนประกอบของระบบมาติดตั้งและพัฒนาเป็นระบบใหม่ต่อไป
11.
ทีมงานพัฒนาระบบสมควรต้องทำอะไรบ้างในขั้นติดตั้งระบบและการบำรุงรักษา?
ทีมงานพัฒนาระบบจะ
ควบคุมและดุแลการติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ
ของระบบใหม่โดยดำเนินการด้วยตัวเองหรือจ้างผู้รับเหมา
ทีมงานพัฒนาระบบต้องทดสอบการใช้งานว่า
ระบบใหม่สามารถปฏิบัติงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์และรูปแบบที่ได้ทำการออกแบบ
ไว้หรือไม่และการติดตั้งควรที่จะสำเร็จตามตารางที่กำหนด เพื่อให้ระบบสามารถใช้งานแทนที่ระบบเก่าได้ทันเวลา
12. รูปแบบของวงจรการพัฒนาระบบที่นิยมใช้ในปัจจุบันมีกี่รูปแบบ
อะไรบ้าง? จงอธิบาย
4 รูปแบบ
1. รูปแบบน้ำตก (Waterfll Model) วงจรการพัฒนาระบบแบบนี้ได้เผยแพร่ใช้งานในปี
1970 ค.ศ. เป็นรูปแบบที่มีมานาน และเป็นที่นิยมใช้ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
2. รูปแบบวิวัฒนาการ (Evolutionary Model) วงจรการพัฒนาระบบในรูปแบบวิวัฒนาการมีแนวความคิดที่เกิดมาจากทฤษฎี
วิวัฒนาการ โดยจะพัฒนาระบบจนเสร็จสิ้นสมบูรณ์ในเวอร์ชัน แรกก่อน
จากนั้นจึงพิจารณาข้อดีข้อเสียของระบบ หาข้อผิดพลาดโดยการทดสอบและการประเมินระบบ
จากนั้นจึงเริ่มกระบวนการพัฒนาระบบใหม่จนได้ระบบงานในเวอร์ชันที่ 2 เวอร์ชันที่
3เวอร์ชันที่ 4 และเวอร์ชันต่อ ๆ ไป
จนกว่าจะได้ระบบที่สมบูรณ์ที่สุดแต่ต้องมีการวางแผนกำหนดจำนวนเวอร์ชัน
ตั้งแต่เริ่มโตรงการพัฒนาระบบให้ชัดเจน
3. รูปแบบค่อยเป็นค่อยไ
ป(Incremental Model) วงจรการพัฒนาระบบในรูปแบบค่อยเป็นค่อยไปมีลักษณะคล้ายคลึงกับรูปแบบ
วิวัฒนาการ แต่มีข้อแตกต่างกันตรงที่ระบบที่ได้ในแต่ละช่วง
เนื่องจากระบบที่เกิดขึ้นในการพัฒนาขั้นแรกนั้นจะยังไม่ใช่ระบบที่ สมบูรณ์
แต่เป็นระบบส่วนแรกเท่านั้นจากระบบที่ต้องการทั้งหมด จนเมื่อมีการพัฒนาในขั้นที่ 2
จึงได้ระบบที่มีส่วน ที่ 2
เพิ่มเติมเข้าไป และจะมีการเพิ่มส่วนอื่นๆ เข้าไปจนครบทุกส่วน
จนกลายเป็นระบบที่สมบูรณ์มากที่สุด เหมาะสมกับการพัฒนาระบบที่มีงานหลายส่วนที่มีความเกี่ยวเนื่องกัน
4. รูปแบบเกลียว (Spiral Model) วงจรการพัฒนาระบบในรูปแบบเกลียว
จะมีลักษณะที่กระบวนหารวิเคราะห์ การออกแบบ และการพัฒนา
จนวนกลับมาในแนวทางเดิมเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งได้ระบบที่สมบูรณ์ การพัฒนาระบบงานด้วย
วงจรการพัฒนาในรูปแบบนี้มีความยึดหยุ่นมากที่สุด
เนื่อง จากจากระบวนการทำงานใน 1 รอบ ไม่จะเป็นต้องได้ระบบ
และระยะเวลาในแต่ละขั้นตอนในเละรอบนั้นจะใช้เวลาเท่าไรก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเท่ากันในทุก ๆ รอบ
ถ้าหากไม่มีความจำเป็น บางขั้นตอนอาจจะถูกข้ามไปก็ได้
13. การปรับเปลี่ยนระบบมีกี่วิธี อะไรบ้าง? จงอธิบาย
4 วิธี
1. การปรับเปลี่ยนโดยตรง
(Drrect Conversion) เป็นการแทนที่ระบบสารสนเทศเดิมด้วยระบบใหม่อย่างสมบูรณ์
โดยการหยุดใช้ระบบเก่าอย่างสิ้นเชิงและเปลี่ยนไปใช้ระบบใหม่ในทันที ซึ่งจะรวดเร็วและไม่ซับซ้อน
วิธีการแบบนี้องค์การหรือมีข้อบกพร่อง ก็จะทำให้ผู้ใช้ไม่มีระบบใดมารองรับในการใช้งานแทนเลย
2.
การปรับเปลี่ยนแบบขนาน(Parallel Conversion) เป็นการดำเนินการโดยใช้งานทั้งระบบสารสนเทศเก่าและระบบใหม่ไปพร้อม
ๆ กันในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เพื่อให้เป็นหลักประกันความเสี่ยงว่า
ถ้าระบบงานใหม่ยังไม่สมารถทำงานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพสูงแล้วก็
ยังมีระบบเก่าที่สามารถทำงานได้รองรับงานอยู่
3.
การปรับเปลี่ยนแบบเป็นระยะ(Phased
Conversion) เป็นการปรับเปลี่ยนระบบสารสนเทศเก่าไปใช้ระบบสารสนเทศใหม่เฉพาะงานด้านหนึ่ง
ก่อน เมื่องานด้านนั้นทำงานได้ประสบความสำเร็จแล้ว จึงขยายการปรับเปลี่ยนระบบออกไปในด้านอื่นอีก
เช่น การเปลี่ยนใช้ระบบใหม่เฉพาะเรื่องการบริหารงานบุคคล เป็นต้น
4.
การปรับเปลี่ยนแบบนำร่อง(Pilot Conversion) เป็นการปรับเปลี่ยนไปใช้ระบบสารสนเทศใหม่อย่างเป็นขั้นตอนและค่อยเป็นค่อยไป
หลังจากที่ส่วนหนึ่งติดตั้งเสร็จ และใช้งานได้ดีแล้ว ก็จะขยายผลไปในส่วนต่อ ๆ ไป
เช่น บางองค์การที่มีสำนักงานอยู่หลายสาขาหลังจากดำเนินการได้ผลเป็นที่พอใจแล้ว
ก็จะขยายใหม่ไปติดตั้งและใช้งานสาขาอื่นต่อไป เป็นต้น
สรุปบทที่5
ระบบฐานข้อมูล
ปัจจุบันข่าวสารและข้อมูลนับว่าเป็นทรัพยากรสำคัญที่ถูกนำมาช่วยสนับสนุนผู้บริหารในการบริหารและการตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆ
ของธรกิจ การได้รับข่าวสารและข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยำในเวลาที่ต้องการ จะช่วยให้บริหารสามารถตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมและทันต่อสถานการณ์
ในทางตรงกันข้าม
ข้อมูลที่ผิดพลาดหรือไม่สมบูรณ์ย่อมก่อให้เกิดผลเสียต่อการดำเนินงานขององค์การได้
ประการสำคัญ
การที่ธุรกิจจะสามารถนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่มิได้ขึ้นอยู่กับการที่หน่วยงานมีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย
มีราคาแพง และมีชุดคำสั่งที่มีประสิทธิภาพเท่านั้น ความสามารถในการจัดเก็บ
การจัดลำดับ และการจัดการข้อมูล
นับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการนำข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดในแต่ละสถานการณ์
เราจะแบ่งการจัดเก็บข้อมูลออกเป็น 2 แบบคือ การจัดแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ และการจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม ซึ่งแต่ละแบบจะมีข้อดีและข้อจำกัดที่แตกต่างกัน ดังนั้นผู้ใช้ต้องตัดสินใจเลือกแบบที่สอดคล้องกับความต้องการของงาน และปัจจัยสนับสนุนของธุรกิจ
ฐานข้อมูล (Database) หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลเข้าไว้ด้วยกันอย่างมีแบบแผน ณ ที่ใดที่หนึ่งในองค์การ เพื่อที่ผู้ใช้จะสามารถนำข้อมูลมาประมวลผล และประยุกต์ใช้งานตามที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยปกตินักวิชาการจะแบ่งโครงสร้างข้อมูลออกเป็น2 ลักษณะ คือ โครงสร้างเชิงกายภาพและโครงสร้างเชิงตรรกะ แต่เราจะให้ความสนใจกับโครงสร้างเชิงตรรกะซึ่งสามารถแยกอธิบายแบบจำลองออกเป็น 3 ประเภทคือ แบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงลำดับขั้น แบบจำลองการจัดข้อมูลแบบเครือข่าย และแบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management Systems DBMS) หมายถึงชุดคำสั่งซึ่งทำหน้าที่สร้าง ควบคุม และดูแลระบบฐานข้อมูล เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูล คัดเลือกข้อมูล และสามารถนำข้อมูลนั้นมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ DBMS จะทำหน้าที่เสมือนตัวกลางระหว่างชุดคำสั่งสำหรับการใช้งานต่างๆ กับหน่วยเก็บข้อมูล ซึ่งDBMS ประกอบด้วยส่วนประกอบหลักที่สำคัญอยู่ 3 ส่วนคือ ภาษาสำหรับนิยมข้อมูลหรือDDL ภาษาสำหรับการใช้ข้อมูลหรือ DML และพจนานุกรมข้อมูล
การบริหารฐานข้อมูลจะครอบคลุมไปถึงเทคนิคการปฏิบัติในการจัดการฐานข้อมูลทั้งเชิงตรรกะและเชิงกายภาพ ตลอดจนการออกแบบ การปรับปรุง การใช้งาน และดูแลระบบฐานข้อมูลให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารฐานข้อมูลจะถูกเรียกว่า ผู้บริหารฐานข้อมูล หรือ DBA
ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย หมายถึงระบบฐานข้อมูลที่เก็บข้อมูลไว้ในที่ต่างๆ มากกว่า 1 แห่ง โดยข้อมูลส่วนหนึ่งจะถูกเก็บไว้ในสถานที่หนึ่ง ขณะที่ข้อมูลส่วนหนึ่งเหลืออาจจะถูกเก็บรวมไว้ในอีกที่หนึ่งหรือถูกแยกเก็บไว้ในที่ต่างๆ โดยที่ข้อมูลเหล่านี้สามารถถูกเรียกมาประมวลผลและใช้งานได้เช่นเดียวกับการเก็บข้อมูลไว้ ณ ที่แห่งเดียว การเก็บข้อมูลแบบนี้มีได้ 2 ลักษณะคือ ระบบฐานข้อมูลกระจายแบบมีดัชนีรวม และระบบฐานข้อมูลกระจายแบบถามเครือข่ายและเป็นที่คาดกันว่า ผลกระทบของเทคโนโลยีก้าวหน้าและโครงสร้างการทำงานของแต่ละองค์การที่เปลี่ยนไปในอนาคต จะมีส่วนทำให้เกิดการตื่นตัวในการนำระบบฐานข้อมูลแบบกระจายมาใช้ประโยชน์เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ระบบฐานข้อมูลแบบมุ่งเป้าหมาย ระบบฐานข้อมูลแบบหลายสื่อคลังข้อมูล และกระทำเหมืองข้อมูล ยังได้รับการคาดหวังว่า จะเป็นเทคโนโลยีฐานข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำหรับอนาคตอีกด้วย
เราจะแบ่งการจัดเก็บข้อมูลออกเป็น 2 แบบคือ การจัดแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ และการจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม ซึ่งแต่ละแบบจะมีข้อดีและข้อจำกัดที่แตกต่างกัน ดังนั้นผู้ใช้ต้องตัดสินใจเลือกแบบที่สอดคล้องกับความต้องการของงาน และปัจจัยสนับสนุนของธุรกิจ
ฐานข้อมูล (Database) หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลเข้าไว้ด้วยกันอย่างมีแบบแผน ณ ที่ใดที่หนึ่งในองค์การ เพื่อที่ผู้ใช้จะสามารถนำข้อมูลมาประมวลผล และประยุกต์ใช้งานตามที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยปกตินักวิชาการจะแบ่งโครงสร้างข้อมูลออกเป็น2 ลักษณะ คือ โครงสร้างเชิงกายภาพและโครงสร้างเชิงตรรกะ แต่เราจะให้ความสนใจกับโครงสร้างเชิงตรรกะซึ่งสามารถแยกอธิบายแบบจำลองออกเป็น 3 ประเภทคือ แบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงลำดับขั้น แบบจำลองการจัดข้อมูลแบบเครือข่าย และแบบจำลองการจัดข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management Systems DBMS) หมายถึงชุดคำสั่งซึ่งทำหน้าที่สร้าง ควบคุม และดูแลระบบฐานข้อมูล เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูล คัดเลือกข้อมูล และสามารถนำข้อมูลนั้นมาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ DBMS จะทำหน้าที่เสมือนตัวกลางระหว่างชุดคำสั่งสำหรับการใช้งานต่างๆ กับหน่วยเก็บข้อมูล ซึ่งDBMS ประกอบด้วยส่วนประกอบหลักที่สำคัญอยู่ 3 ส่วนคือ ภาษาสำหรับนิยมข้อมูลหรือDDL ภาษาสำหรับการใช้ข้อมูลหรือ DML และพจนานุกรมข้อมูล
การบริหารฐานข้อมูลจะครอบคลุมไปถึงเทคนิคการปฏิบัติในการจัดการฐานข้อมูลทั้งเชิงตรรกะและเชิงกายภาพ ตลอดจนการออกแบบ การปรับปรุง การใช้งาน และดูแลระบบฐานข้อมูลให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารฐานข้อมูลจะถูกเรียกว่า ผู้บริหารฐานข้อมูล หรือ DBA
ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย หมายถึงระบบฐานข้อมูลที่เก็บข้อมูลไว้ในที่ต่างๆ มากกว่า 1 แห่ง โดยข้อมูลส่วนหนึ่งจะถูกเก็บไว้ในสถานที่หนึ่ง ขณะที่ข้อมูลส่วนหนึ่งเหลืออาจจะถูกเก็บรวมไว้ในอีกที่หนึ่งหรือถูกแยกเก็บไว้ในที่ต่างๆ โดยที่ข้อมูลเหล่านี้สามารถถูกเรียกมาประมวลผลและใช้งานได้เช่นเดียวกับการเก็บข้อมูลไว้ ณ ที่แห่งเดียว การเก็บข้อมูลแบบนี้มีได้ 2 ลักษณะคือ ระบบฐานข้อมูลกระจายแบบมีดัชนีรวม และระบบฐานข้อมูลกระจายแบบถามเครือข่ายและเป็นที่คาดกันว่า ผลกระทบของเทคโนโลยีก้าวหน้าและโครงสร้างการทำงานของแต่ละองค์การที่เปลี่ยนไปในอนาคต จะมีส่วนทำให้เกิดการตื่นตัวในการนำระบบฐานข้อมูลแบบกระจายมาใช้ประโยชน์เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ระบบฐานข้อมูลแบบมุ่งเป้าหมาย ระบบฐานข้อมูลแบบหลายสื่อคลังข้อมูล และกระทำเหมืองข้อมูล ยังได้รับการคาดหวังว่า จะเป็นเทคโนโลยีฐานข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำหรับอนาคตอีกด้วย
คำถามท้ายบทที่
5
1. เราสามารถจำแนกการจัดแฟ้มข้อมูลเป็นกี่แบบ
อะไรบ้าง
การจัดแฟ้มข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
1.การจัดแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลำดับ
(Sequential File Organization)
2. การจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
(Random File Organization)
2. อธิบายความหมาย
ตลอดจนข้อดีและข้อจำกัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
การจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
เป็นวิธีการจัดรวบรวมระเบียบข้อมูลที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง และไม่ต้องผ่านระเบียบอื่นตามลำดับก่อนหลัง
การจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่มทำให้การใช้เวลาเข้าถึงข้อมูลไม่มาก
นอกจากนี้การจัดแฟ้มข้อมูลแบบสุ่มจะมีข้อดีดังต่อไปนี้
- การเข้าถึงข้อมูลสะดวกและรวดเร็ว
- สะดวกในการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย
- มีความยืดหยุ่นและเหมาะกับงานที่ต้องการประมวลผลแบบโต้ตอบ
ข้อจำกัดมีดังต่อไปนี้
- ข้อมูลมีโอกาสผิดพลาดและสูญหาย
- การเปลี่ยนแปลงจำนวนระเบียบจะทำได้ลำบากกว่าวิธีเรียงลำดับ
- มีค่าใช้จ่ายสูง
3. ฐานข้อมูลคืออะไร
และเหตุใดจึงมีความสำคัญต่อการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน
ฐานข้อมูล หมายถึงการเก็บรวบรวมข้อมูลเข้าไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบและมีแบบแผน
ณ ที่ใดที่หนึ่งขององค์การ
เพื่อที่ผู้ใช้จะสามารถนำข้อมูลมาประมวลผลและประยุกต์ใช้งานตามที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ฐานข้อมูลมีความสำคัญต่อการดำเนินงานของธุรกิจในสังคมสารสนเทศที่มิใช่แค่การผลิตสินค้าในปริมาณมากเพื่อจำหน่ายแก่ลูกค้า
แต่ธุรกิจต้องตอบสนองความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่มอย่างแท้จริง
4. เราสามารถจำแนกแบบจำลองโครงสร้างข้อมูลเชิงตรรกะแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
อะไรบ้าง
โครงสร้างข้อมูลเชิงตรรกะแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. แบบจำลองการจัดการข้อมูลเชิงลำดับขั้น
2. แบบจำลองการจัดการข้อมูลแบบเครือข่าย
3. แบบจำลองการจัดการข้อมูลเชิงสัมพันธ์
5. เปรียบเทียบประโยชน์ในการใช้งานของแบบจำลองโครงสร้างข้อมูลแต่ละประเภท
ชนิดของแบบจำลอง
|
ประสิทธิภาพในการทำงาน
|
ความยืดหยุ่น
|
ความสะดวกต่อการใช้งาน
|
เชิงลำดับขั้น
|
สูง
|
ต่ำ
|
ต่ำ
|
เครือข่าย
|
ค่อนข้างสูง
|
ค่อนข้างต่ำ
|
ปานกลาง
|
เชิงสัมพันธ์
|
ต่ำ(กำลังพัฒนา)
|
สูงหรือต่ำ
|
สูง
|
6. ระบบจัดการฐานข้อมูลคืออะไร
และมีส่วนประกอบอะไรบ้าง
ระบบจัดการฐานข้อมูล หรือ DBMS หมายถึงชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สร้าง ควบคุม และดูแลฐานข้อมูล
เพื่อสามารถให้ผู้ใช้เข้าถึงฐานข้อมูลและสามารถนำข้อมูลนั้นมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยที่ DBMS จะทำหน้าที่เสมือนตัวกลางระหว่างชุดคำสั่ง
สำหรับการใช้งานกับหน่วยเก็บข้อมูล DBMS
ประกอบด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ
1. ภาษาสำหรับนิยามข้อมูลหรือ (Data
Definition Language; DDL)
2. ภาษาสำหรับการใช้ข้อมูลหรือ (Data
Manipulation Language; DML)
3. พจนานุกรมข้อมูล (Data
Dictionary)
7. อธิบายความหมายและประโยชน์ของพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรม คือ เครื่องมือที่จัดเรียบเรียงความหมายและอธิบายลักษณะที่สำคัญของข้อมูลในฐานข้อมูลเข้าไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบและระเบียบ
เพื่อให้ง่ายต่อการค้นคว้าและนำไปใช้อ้างอิงในอนาคต
เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบจัดการฐานข้อมูล
เพราะจะช่วยให้สามารถศึกษาและทำความเข้าใจระบบได้ง่ายขึ้น
8. นักบริหารฐานข้อมูลมีหน้าที่สำคัญอะไรบ้าง
1. กำหนดและจัดระเบียบโครงสร้างฐานข้อมูล
2. พัฒนาขั้นตอนการรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูล
3. จัดทำหลักฐานอ้างอิงของระบบฐานข้อมูล
4. ดูแลรักษาระบบฐานข้อมูลให้ทำงานอย่างปกติ
5. ประสานงานกับผู้ใช้
9. เหตุใดบ้างองค์การจึงต้องมีหัวหน้างานด้านสารสนเทศ
(CIO) และ CIO มีหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไร
เพื่อความคล่องตัวในการบริหารงานและการใช้บริการด้านข้อมูลและสารสนเทศ
การที่องค์การเลือกใช้วิธีการจัดหน่วยงานบริหารข้อมูลแบบใดย่อมขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของแต่ละหน่วยงาน
มี หน้าที่และมีความรับผิดชอบในการควบคุมดูแลเกี่ยวกับการบริหารงานระบบ
สารสนเทศทางธุรกิจหรือบุคคลที่เป็นหัวหน้าของทั้งหน่วยงานวิเคราะห์และออก
แบบระบบเขียนชุดคำสั่ง ปฏิบัติการ และให้บริการด้านสารสนเทศแก่องค์การ
10. อธิบายแนวโน้มของเทคโนโลยีฐานข้อมูลในอนาคต
ได้รับการคาดหวังว่าจะเป็นเทคโนโลยีฐานข้อมูลที่เป็นประโยชน์สำหรับอนาคต
เทคโนโลยีมีพัฒนาการที่รวดเร็วและไม่หยุดยั้ง
และจะช่วยพัฒนาด้านการทำงานทางธุรกิจให้มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น
ถ้าผู้ใช้งานมองไม่เห็นคุณค่าหรือขาดความรู้และความสามารถในการนำไปใช้งาน
ย่อมไม่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่องค์การ
สรุปบทที่ 6 การสื่อสารและระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีส่วนประกอบที่สำคัญดังนี้ คอมพิวเตอร์
สถานี ช่องทางการติดต่อสื่อสาร อุปกรณ์สนับสนุนการติดต่อสื่อสาร และชุดคำสั่งสำหรับการติดต่อสื่อสาร ซึ่งระบบเครือข่ายแยกตามระยะทางและการเชื่อมต่ออุปกรณ์
สามารถแบ่งออกเป็นระบบเครือข่ายเฉพาะพื้นที่ หรือ LAN ระบบเครือข่ายเฉพาะเขตเมือง หรือ MAN ระบบเครือข่ายครอบคลุมพื้นที่หรือ WAN และระบบเครือข่ายระหว่างประเทศ
รูปแบบของโทโปโลยีของเครือข่ายหลักๆ มี 4 แบบคือ โทโปโลยีแบบบัส โทโปโลยีแบบวงแหวน โทโปโลยีแบบดาว และโทโปโลยีแบบผสม
ซึ่งเครือข่ายแต่ละแบบมีความเหมาะสมในการใช้งานแตกต่างกัน จึงมีความจำเป็นที่เราจะต้องทำการศึกษา เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบพิจารณาเครือข่ายให้เหมาะสมกับการใช้งาน
ปัจจุบันช่องทางการติดต่อสื่อสารมีอยู่ 2
ลักษณะ
ซึ่งมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการใช้งานที่แตกต่างกัน ได้แก่
การสื่อสารแบบมีสาย เช่น สายเกลียวคู่หรือสายโทรศัพท์ สายโทรศัพท์
สายโคแอกเซียล
และสายใยแก้วนำแสง
และระบบสื่อสารไร้สาย เช่น คลื่นสั้น
และดาวเทียม โดยช่องทางการติดต่อสื่อสารแต่ละลักษณะจะมีข้อดีและจำกัดที่แตกต่างกัน
โดยสัญญาณที่ใช้เป็นตัวกลางในการสื่อสารนั้น
ไม่ว่าจะเป็นสัญญาณที่ผ่านตัวกลางแบบมีสายหรือแบบไร้สาย สามารถแบ่งได้เป็น 2
ประเภทคือ
สัญญาณแบบแอนะล็อกและสัญญาณแบบดิจิตอล
ส่วนอุปกรณ์สนับสนุนการติดต่อสื่อสารสำคัญมีดังนี้ อุปกรณ์ประมวลผลหน้า อุปกรณ์รวบรวม
และอุปกรณ์ควบคุม
เราจึงสรุปได้ว่า
เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมช่วยเพิ่มศักยภาพให้แก่ระบบคอมพิวเตอร์ที่เคยปฏิบัติงานเก็บรวบรวม ประมวลผล
และจัดการสารสนเทศ
ให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ที่อยู่คนละส่วนงานหรือคนละพื้นที่ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลที่มีประสิทธิภาพได้เช่นเดียวกัน
ดังนั้นผู้บริหารในอนาคตจึงต้องติดตามศึกษาการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้สามารถนำมาใช้งานให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์การ
คำถามท้ายท้ายบทที่ 6
1.
ระบบเครือข่ายสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์มีอิทธิพลต่อการพัฒนา และการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจอย่างไร
ตอบ
เป็นระบบสารสนเทศที่เปรียบเสมือนระบบประสาทและสมองที่ควบคุมการทำงานภายใน
รับสัมผัส และตอบสนองต่อภายนอก
2.
ระบบเครือข่ายแบ่งออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง
ตอบ
ระบบเครือข่ายแบ่งออกเป็น 4 ชนิด ดังนี้
1. ระบบเครือข่ายเฉพาะพื้นที่ (Local Area Network; LAN) เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ
2. ระบบเครือข่ายเฉพาะเขตเมือง (Metropolitan Area Network; MAN) เป็นระบบเครือข่ายที่ต่อเชื่อมและครอบคลุมพื้นที่กว้างพอสมควร
3. ระบบเครือข่ายครอบคลุมพื้นที่ (Wide Area Network; WAN) เป็นระบบเครือข่ายสื่อสารที่ครอบคลุมพื้นที่มากกว่าระบบเครือข่ายเฉพาะเขตเมือง
4. ระบบเครือข่ายระหว่างประเทศ (International Network) เป็นระบบเครือข่ายสื่อสารที่เชื่อมโยงระหว่างประเทศ
3.
ระบบเครือข่ายเฉพาะพื้นที่
(LAN) และระบบเครือข่ายครอบคลุมพื้นที่
(WAN) มีความแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ
ระบบเครือข่ายเฉพาะพื้นที่ (LAN) เป็นระบบเครือข่ายที่ใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง
ๆ ที่อยู่ในระยะใกล้เข้าด้วยกัน ส่วนระบบเครือข่ายครอบคลุมพื้นที่ (WAN) เป็นระบบเครือข่ายสื่อสารที่เชื่อมโยงระหว่างประเทศ
โดยที่ระบบเครือข่ายระหว่างประเทศทักใช้สายเคเบิลหรือดาวเทียมเป็นช่องทางการสื่อสารข้อมูล
4.
จงเปรียบเทียบคุณสมบัติและประสิทธิภาพของช่องทางการสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ตอบ
ช่องทางการติดต่อสื่อสารเป็นตัวกลางที่ทำหน้าที่เชื่อมโยงอุปกรณ์สื่อสารต่างๆ
เพื่อที่จะให้ช่องทางส่งสัญญาณและส่งผ่านข้อมูลระหว่างกัน
5. รูปแบบของโทโปโลยีของเครือข่ายแบ่งออกเป็นกี่แบบ อะไรบ้าง
ตอบ
รูปแบบของโทโปโลยีมี 4 แบบดังนี้
1. โทโปโลยีแบบบัส (Bus Topology) เป็นโทโปโลยีที่ได้รับนิยมใช้กันมากที่สุดมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
2. โทโปโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) เป็นการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่าง
ๆ เข้าเป็นวงกลม
3. โทโปโลยีแบบดาว (Star Topology) เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉก
4. โทโปโลยีแบบผสม (Hybridge Topology) เป็นเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลแบบผสมระหว่างเครือข่ายแบบใดแบบหนึ่งหรือมากกว่า
6.
ช่องทางการติดต่อสื่อสารแบ่งออกเป็นกี่ลักษณะ อะไรบ้าง
ตอบ
ช่องทางการติดต่อสื่อสารแบ่งออกเป็น
2 ช่องทาง
1. การสื่อสารแบบมีสาย (Wired Transmission Systems) เป็นการสื่อสารข้อมูลผ่านสายนำสัญญาณ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ
สายโทรศัพท์
2. ระบบสื่อสารแบบไร้สาย (Wireless Transmission System) เป็นการสื่อสารโดยแปรรูปสัญญาณและส่งสัญญาณผ่านไปในอากาศ
โดยไม่มีสายนำสัญญาณเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์สื่อสาร
7.
สายเกลียวคู่หรือสายโทรศัพท์ สายโคแอกเซียล
และสายใยแก้วนำแสง
มีความแตกต่างกันอย่างไร
ตอบ
สายเกลียวคู่หรือสายโทรศัพท์
ประกอบด้วยเส้นลวดสองเส้นพันกันเป็นเกลียว
โดยมีฉนวนห่อหุ้มเส้นลวดเกลียวคู่แต่ละเส้นไว้ สายโคแอกเซียล มีลักษณะเป็นสายทรงกระบอกที่ทำด้วยทองแดง และมีลวดนำอยู่ตรงกลาง ส่วนสายใยแก้วนำแสง มีลักษณะเป็นเส้นบาง ๆ คล้ายเส้นใยแก้ว
โดยข้อมูลจะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณแสงและส่งผ่านไปตามเส้นใยด้วยความเร็วแสง
8.
จงอธิบายความแตกต่างระหว่างสัญญาณแบบแอนล็อก กับสัญญาณแบบดิจิตอล
ตอบ
สัญญาณแบบแอนะล็อก
จะเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่องระดับของสัญญาณ
จะเปลี่ยนแปลงสูงหรือต่ำอย่างต่อเนื่อง
ส่วนสัญญาณแบบดิจิตอลจะประกอบขึ้นจากระดับสัญญาณเพียง 2 ค่า คือ สัญญาณระดับสูงสุดและสัญญาณระดับต่ำสุด
สรุปบทที่ 7
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ประโยชน์ของ GDSS ช่วยส่งเสริมการทำงานเป็นกลุ่ม
ดังนี้
1.ช่วยเตรียมความพร้อมในการประชุม
2.มีการจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศที่เหมาะสมในการประชุม
3.สร้างบรรยากาศในการร่วมมือกันระหว่างสมาชิก
4.สนับสนุนการมีส่วนร่วมและกระตุ้นการแสดงความคิดเห็นของสมาชิก
5.มีการจัดลำดับความสำคัญก่อนหลังของปัญหา
6.ช่วยให้การประชุมบรรลุผลในระยะเวลาที่สมควร
การตัดสินใจของผู้บริหารมีผลต่อประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
ความมั่นคง และการพัฒนาการขององค์การ เนื่องจากผู้บริหารจะต้องตัดสินใจจัดสรรทรัพยากรขององค์การที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้งาน
ซึ่งเราสามารถแบ่งการตัดสินใจของผู้บริหารภายในองค์การได้เป็น 3 ระดับคือ
การตัดสินใจระบบกลยุทธ์ การตัดสินใจระดับยุทธวิธี และการตัดสินใจระดับปฏิบัติการ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
หรือที่เรียกว่า DSS เป็นระบบสารสนเทศที่สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้
โดยที่ระบบนี้จะรวบรวมข้อมูลและแบบจำลองในการตัดสินใจที่สำคัญ
เราสามารถจำแนกส่วนประกอบของ DSS ออกเป็น 4
ส่วนดังต่อไปนี้
1.อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับ DSS แบ่งออกเป็น 2
กลุ่ม คือ อุปกรณ์ประมวลผล อุปกรณ์สื่อสาร และอุปกรณ์แสดงผล
2.ระบบการทำงาน
ซึ่งจะประกอบไปด้วย 3 ส่วน คือ ฐานข้อมูล ฐานแบบจำลอง และระบบชุดคำสั่งของ DSS
3.ข้อมูลเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอีกส่วนหนึ่งของ DSS
4.บุคลากร
โดยที่เราสามารถแบ่งบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ DSS ออกเป็น 2
กลุ่มคือ ผู้ใช้และผู้สนับสนุนระบบ DSS
เราจะเห็นว่า DSS,GDSS และระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารหรือEIS ต่างเป็นระบบสารสนเทศที่มิใช่เพียงมีความสามารถในการจัดการข้อมูล
เช่น ระบบสารสนเทศสำหรับการปฏิบัติงานประจำวัน
แต่จะมีส่วนช่วยสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารและการประสานงานของระบบงานภายในองค์การ
ซึ่งถือว่าเป็นก้าวใหม่ของการดำเนินงานของธุรกิจในยุคสารสนเทศ
คำถามท้ายบทที่ 7
1. จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการและการตัดสินใจ
ตอบ การตัดสินใจเป็นหน้าที่และบทบาทหลักสำคัญของผู้บริหาร
การที่องค์กรจะประสบความสำเร็จหรือประสมความล้มเหลวในการดำเนินกิจการต่าง ๆ
นับว่ามีส่วนขึ้นอยู่กับองค์การตัดสินใจ การเลือกโอกาส
หรือแก้ปัญหาของผู้บริหารเป็นสำคัญ ผู้บริหารที่สมารถตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ
และเหมาะสม
ในแต่ละสถานการณ์ย่อจะสามารถนำพาองค์การให้ปฏิบัติงานด้วนดีและประสบความสำเร็จ
2.
เราสามารถจำแนกการตัดสินใจภายในองค์การออกเป็นอีกระดับ อะไรบ้าง
ตอบ การตัดสินใจภายในองค์การแบ่งออกเป็น 3 ระดับ
1. การตัดสินใจระดับกลยุทธ์(Strategic Decision Making) เป็นการตัดสินใจองผู้บริหารระดับสูงในองค์การ
ซึ่งจะให้ความสนใจต่ออนาคตหรือสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น
2.
การตัดสินจะดับยุทธวิธี(Tactical Decision Making) เป็นหน้าที่ของผู้บริหารระดับกลางโดยที่การตัดสินใจระดับนี้มักจะเกี่ยวข้องกับการจัดการ
เพื่อให้งานต่าง ๆ เป็นไปตามนโยบายของผู้บริหารระดับสูง
3.
การตัดสินใจระดับปฏิบัติการ (Operational
Decision making) หัวหน้าระดับต้นมักจะต้องเกี่ยวข้องกับการตดสินใจในระดับนี้
3. เราสามารถแบ่งกระบวนการตัดสินใจออกเป็นอีกขั้นตอน อะไรบ้าง
ตอบ กระบวนการตัดสินใจออกเป็น 3 ขั้นตอน
1.
การใช้ความคิดประกอบเหตุผล (Intelligence)
2. การออกแบบ (Design)
3. การคัดเลือก (Choice)
4. การตัดสินใจมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ การตัดสินใจมี 3 ประเภท
1. การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง
(Structured Decision) เป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับงานที่ทำเป็นกิจวัตร
โดยการตัดสินใจประเภทนี้จะมีหลักเกณฑ์ และขั้นตอนที่ถูกกำหนดไว้อย่างชันเจน
2.
การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured
Decision) เป็นการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ไม่เป็นเรื่องที่ไม่ได้เกิดขึ้นเป็นประจำ
3.
การตัดสินใจแบบกึ่งโครงการ (Semistructred
Decision ) เป็นการตัดสินใจที่อยู่ระหว่างการตัดสินใจทั้ง 2 ประเภท
5. การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน และการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง
มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
ตอบ การเปลี่ยนแปลง
การแข่งขันและผลกระทบของสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการประกอบธุรกิจทำให้ผู้บริหารต้องสามารถตัดสินใจในปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูงขององค์การที่ต้องเผชิญกับปัญหาที่หลากหลายซับซ้อน
และไม่มีโครงสร้างที่ชัดเจนจึงต้องนำต้องพยายามนำหลักการ เทคนิค และเครื่องมือต่าง
ๆ มาประยุกต์ เพื่อช่วยในการตัดสินใจถูกต้องและรวดเร็วขึ้น ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามีมีบทบาทสำคัญในการช่วยแก้ปัญหาของธุรกิจ
โดยเฉพาะช่วยสร้างความแน่นอนความเชื่อถือได้
และพัฒนาประสิทธิภาพในการตัดสนใจในปัญหาที่มีโครสร้างน้อยและไม่มีโครงสร้างให้สูงขึ้น
6. จงอธิบายความหมายของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ตอบ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เป็นระบบสารสนเทศที่สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้
โดยที่ระบบนี้จะรวบรวมข้อมูลและแบบจำลองในการตัดสินใจที่สำคัญ
เพื่อช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจในปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
7. DSS มีส่วนประกอบอะไรบ้าง จงอธิบายอย่างละเอียด
ตอบ 1. อุปกรณ์ เป็นส่วนประกอบแรกและโครงสร้างพื้นฐานของ DSS โดยอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจสามารถแบ่งออกเป็น
3 กลุ่ม
อุปกรณ์ประมวลผล
อุปกรณ์สื่อสาร
อุปกรณ์แสดงผล DSS
2.ระบบการทำงาน
ระบบการทำงานเป็นส่วนประกอบหลักของ DSS เพราะถือว่าเป็นส่วนประกอบสำคัญในการที่จะทำให้
DSS ทำงานได้ตามวัตถุประสงค์และความต้องการของผู้ใช้
ซึ่งระบบการทำงานจะประกอบด้วยส่วนประกอบสำคัญดังนี้
- ฐานข้อมูล
- ฐานแบบจำลอง
-
ระบบชุดคำสั่งของ DSS
3.ข้อมูล โดยที่ข้อมูล DSS ที่เหมาะสมที่จะมีลักษณะดังนี้
- มีปริมาณพอเหมาะแก่การนำไปใช้
-
มีความถูกต้องและทันสมัยในระดับที่เหมาะสมกับความต้องการ
-
สามารถนำไปใช้ได้สะดวก รวดเร็ว และครบถ้วน
- มีความยืดหยุ่น
และสามารถนำมาจัดรูปแบบเพื่อการวิเคราะห์ได้อย่างเหมาะสม
4.บุคลากร
เป็นส่วนประกอบที่สำคัญอีกส่วนหนึ่งของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
เนื่องจากบุคลากรจะต้องเกี่ยวข้องกับ DSS ตั้งแต่การกำหนดปัญหาและความต้องการ
การพัฒนา การออกแบบและการใช้DSS สามารถแบ่งบุคลากรที่เกี่ยวข้องออกเป็น
2 กลุ่ม
- ผู้ใช้
- ผู้สนับสนุน
8. การพัฒนา DSS มีความเหมือนหรือแตกต่างจาการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการประเภทอื่นอย่างไร
ตอบ DSS จะแตกต่างจากระบบสารสนเทศสำหรับการปฏิบัติการที่แลกเปลี่ยน
เก็บรวบรวม และประมวลผลข้อมูลคือ DSS จะจัดการเก็บข้อมูลให้ป็นสารสนเทศที่เหมาะสมกับการตัดสินใจของผู้ใช้
โดย DSS จะใช้ข้อมูลที่ประมวลผลจากกระบวนการปฏิบัติการมาจัดระเบียบ
และวิเคราะห์ตามคำสั่งและความสนใจของปัญหานอกจากนี้ DSS ยังช่วยเร่งพัฒนาการและความเข้าใจในศักยภาพการทำงานของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ครอบคลุม
มากกว่าปฏิบัติงานประจำวัน
9.
ปัจจุบันองค์การสามารถพัฒนา DSS อย่างไร
ตอบ 1. การวิเคราะห์ระบบ (System
Analysis) ขั้นตอนแรกในการพัฒนา DSS โดยมีเป้าหมายเพื่อที่จะกำหนดถึงปัญหา
ตลอดจนวิเคราะห์หาขั้นตอนที่สำคัญในการตัดสินใจแก้ปัญหานั้น ๆ
โดยผู้ที่จะใช้ระบบสมควรที่จะมีส่วนรวมในขั้นตอนนี้เป็นอย่างยิ่ง
2. การออกแบบ (System Design) จะเป็นระบบสารสเทศที่มีความพิเศษในตัวเองที่สามารถเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปเรื่อย
ๆ ผู้ออกแบบควรจะออกแบบให้ระบบมีความยืดหยุ่นสูง สามารถปรับตัวได้ตามความเหมาะสม
3. การนำไปใช้ (Implemrntaion) DSS จะแตกต่างจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทั่วไป
ที่ผู้ใช้จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบจากแรกเริ่มต้นจนถึงสภาวะปัจจุบัน
และจะพัฒนาต่อไปในอนาคต
10.
จงอธิบายความหมายและประโยชน์ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับกลุ่ม (GDSS)
ตอบ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับกลุ่มคือ
เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการตัดสินใจของกลุ่ม
การที่ GDSS จะถูกนำมาใช้อย่างประสบความสำเร็จขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญ 3
ประการ
- อุปกรณ์
- ชุดคำสั่ง
- บุคลากร
ประโยชน์ของ GDSS
1. ช่วยในการเตรียมความพร้อมในการประชุม
2.มีการจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศที่เหมาะสมในการประชุม
3.สร้างบรรยากาศในการร่วมมือกันระหว่างสมาชิก
4.สนับสนุนการมีส่วนร่วมและกระตุ้นการแสดงความคิดเห็นของสมาชิก
5.มีการจัดลำดับความสำคัญก่อนหลังของปัญหา
6.ช่วยในการประชุมบรรลุผลในระยะเวลาที่สมควร
7.มีหลักฐานการประชุมแน่ชัด
สรุปบทที่ 8 เรื่อง ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
การดำเนินธุรกิจที่ซับซ้อนและมีความรุนแรงในการแข่งขัน
ทำให้ผู้บริหารต้องสามารถตัดสินใจอย่างถูกต้อง รวดเร็ว
จึงต้องสารสนเทศที่เหมาะสมดังที่มีผู้กล่าวว่า สารสนเทศคืออำนาจ
ทุกองค์การจึงต้องจัดหาและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ แต่บุคลากรบางกลุ่มในองค์การจะมีความต้องการสารสนเทศที่เฉพาะ
เช่น
ผู้บริหารจะมีความแตกต่างจากผู้ใช้ข้อมูลในระดับอื่นที่ต้องการข้อมูลที่ชัดเจน
ง่ายต่อการตัดสินใจ ไม่ต้องเสียเวลาประมวลผลอีก ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารหรือ EIS
ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อจัดการสารสนเทศของผู้บริหารให้มีความต้องการข้อมูลที่มีความแตกต่างจากบุคลากรกลุ่มอื่นขององค์การและมีระยะเวลาจำกัดในการตัดสินใจแก้ปัญหาเมื่อมีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นซึ่งมีผลกระทบต่อองค์การ
ผู้บริหารกับการตัดสินใจ
เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่อการดำรงอยู่และอนาคตขององค์การ เนื่องจากผู้บริหารมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อการกำหนดทิศทางในอนาคตขององค์การผ่านการตัดสินใจในปัญหาหรือโอกาสสำคัญทางธุรกิจโดยเราสามารถจำแนกการตัดสินใจในการทำงานของผู้บริหารออกเป็น
4 ลักษณะ คือ
1. การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์
2. การตัดสินใจทางยุทธวิธี
3. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
4. การควบคุม
แหล่งข้อมูลสำหรับผู้บริหารในทางด้านการแข่งขันในสังคมสารสนเทศที่แต่ละองค์การต้องสามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าและการพลวัตของสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้องและทันเวลา
ดังนั้นผู้บริหารจึงต้องการการตอบสนองของข้อมูลที่รวดเร็ว ชัดเจน ทันสมัย สมบูรณ์
ถูกต้อง และเชื่อถือได้
โดยเทคโนโลยีสารสนเทศถูกนำมาประยุกต์เพื่อให้การปฏิบัติงานและการตัดสินใจของผู้บริหารมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
โดยทั่วไปแล้วผู้บริหารจะไดรับข้อมูลจาก 3 แหล่ง ดังนี้
1. ข้อมูลที่ได้จากกระบวนการดำเนินงาน
2. ข้อมูลจากภายในองค์การ
3. ข้อมูลจากภายนอกองค์การ
คำถามท้ายบทที่ 8
1.เหตุใดการตัดสินใจของผู้บริหารจึงมีความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์การ
ตอบ ผู้บริหารมีหน้าที่และความรบผิดชอบต่อการดำเนินทิศทางในอนาคตขององค์การ ผ่านการตัดสินใจในปัญหาหรือโอกาสำคัญทางธุรกิจซึ่งการตัดสินใจของผู้บริหารโดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง จะมีผลไม่เพียงพอต่อการดำเนินการงานในระยะสั้น แต่ครอบคลุมถึงความอยู่รอด ความมั่นคง และความเจริญเติบโตขององค์การ
2. สารสนเทศสำหรับผู้บริหารมีคุณลักษณะสำคัญที่แตกต่างจากสารสนเทศสำหรับบุคคลอื่นในองค์การอย่างไร
ตอบ 1. ไม่มีโครงสร้าง
ตอบ ผู้บริหารมีหน้าที่และความรบผิดชอบต่อการดำเนินทิศทางในอนาคตขององค์การ ผ่านการตัดสินใจในปัญหาหรือโอกาสำคัญทางธุรกิจซึ่งการตัดสินใจของผู้บริหารโดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง จะมีผลไม่เพียงพอต่อการดำเนินการงานในระยะสั้น แต่ครอบคลุมถึงความอยู่รอด ความมั่นคง และความเจริญเติบโตขององค์การ
2. สารสนเทศสำหรับผู้บริหารมีคุณลักษณะสำคัญที่แตกต่างจากสารสนเทศสำหรับบุคคลอื่นในองค์การอย่างไร
ตอบ 1. ไม่มีโครงสร้าง
2. มีความไม่แน่นอน
3. ให้ความสำคัญกับสถานการณ์ในอนาคต
4. แหล่งข้อมูลที่ไม่เป็นทางการ
5. ไม่แสดงรายละเอียด
3. ปกติผู้บริหารได้รับข้อมูลในการตัดสินใจแหล่งใดบ้าง ตลอดจนข้อมูลจากแต่ละแหล่งมีความสำคัญต่อการตัดสินใจของผู้บริหารอย่างไร
ตอบ ผู้บริหารจะได้รับแหล่งข้อมูลจาก 3 แหล่ง ได้แก่
3. ปกติผู้บริหารได้รับข้อมูลในการตัดสินใจแหล่งใดบ้าง ตลอดจนข้อมูลจากแต่ละแหล่งมีความสำคัญต่อการตัดสินใจของผู้บริหารอย่างไร
ตอบ ผู้บริหารจะได้รับแหล่งข้อมูลจาก 3 แหล่ง ได้แก่
1. ข้อมูลที่ได้รับจากกระบวนการดำเนินงาน (Transacticon
Proceing Data ) เป็นข้อมูลที่แสดงผลการปฏิบัติงานขององค์การ
หน่วยงาน หรือระบบที่สนใจ ข้อมูลจากการดำเนินงานช่วยสร้างความเข้าใจและสะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานที่ผ่านมาในอดีต
2. ข้อมูลจากภายในองค์การ (Internal Data)
เป็นข้อมูลที่จัดทำขึ้นภายในองค์การ
เพื่อแสดงให้เห็นถึงเป้าหมายหรือผลการดำเนินงานของกิจกรรม และโครงสร้างการด้านต่าง
ๆ ขององค์การ
3. ข้อมูลจากภายนอกองค์การ (External Data) ปัจจัยภายนอกมีผลกระทบต่อองค์การ
โดยเฉพาะในสถานการณ์ปัจจุบันที่การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางเศรษฐกิจ การเมือง
สังคมและวิทยาการในประเทศหนึ่งจะมีผลเกี่ยวเนื่องไปทั่วโลก
4. จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีต่อศักยภาพในการแข่งขันขององค์การในยุคปัจจุบัน
4. จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีต่อศักยภาพในการแข่งขันขององค์การในยุคปัจจุบัน
ตอบ ความรวดเร็วในการเข้าถึงและแพร่กระจายข้อมูลข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
ตลอดจนการกระจายโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลของคนหมู่มาก
ส่งผลให้ผู้บริหารองค์การทั้งภาครัฐบาลและภาคธุรกิจ ต้องสามารถทำการตัดสินใจในทางเลือกของการแก้ปัญหาทางและโอกาสอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนำมาประยุกต์ให้การดำเนินงานและปัญหาทางธุรกิจที่ซับซ้อนให้มีความชัดเจนและเป็นรูปธรรม
ซึ่งจะช่วยลดความไม่แน่นอนและความผิดพลาดในการตัดสินใจลง แต่ความสัมพันธ์ระหว่างระดับผู้บริหารระดับสูงกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ยังมิได้เป็นความสัมพันธ์เชิงบวกทั้งด้านความเข้าใจ
ทักษะและทัศนคติที่มีต่อเทคโนโลยีสารสนเท่านั้น
5. จงแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการสร้างความเข้าใจและส่งเสริมทักษะทางสารสนเทศให้แก่ผู้บริหารระดับสูง
5. จงแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการสร้างความเข้าใจและส่งเสริมทักษะทางสารสนเทศให้แก่ผู้บริหารระดับสูง
ตอบ ความ
รวดเร็วในการเข้าถึงและแพร่กระจายข้อมูลข่าวสารจากที่หนึ่งไปยังอีที่หนึ่ง
ตลอดจนการกระจายโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลขอคนหมู่มาก
ส่งผลให้ผู้บริการองค์การทั้งภาครัฐบาลและภาคธุรกิจต้องสามารถทำการตัดสินใจ ทางเลือกของการแก้ปัญหาและโอกาสอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนำมาประยุกต์ให้การดำเนินงานและปัญหาทางธุรกิจที่ซับ
ซ้อนให้มีความชัดเจนและเป็นรูปธรรมซึ่งจะช่วยลดความไม่แน่นอนและความผิดพลาด
ในการตัดสินใจลง แต่ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารระดับสูงกับเทคโนโลยีสารสนเทศยังมิได้เป็น
ความสัมพันธ์เชิงบวกทั้งด้านความเข้าใจ ทักษะ
และทัศนคติที่มีต่อเทคโนโลยีสารสนเทศเท่านั้น
แต่ยังส่งผลต่อการส่งเสริมการนำระบบสารสนเทศมาช่วยงานทางธุรกิจด้วย
6. จงอธิบายความหมายและคุณลักษณะเฉพาะทางของ EIS
ตอบ ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ
ทักษะ และความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศสำหรับผู้บริหารลักษณะเฉพาะของ EIS
ลักษณะ
|
รายละเอียด
|
- ความถี่ในการใช้งาน
|
- ค่อนข้างบ่อยถึงบ่อยมาก
|
- ทักษะทางคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
|
- ไม่จะเป็นต้องมีทักษะสูง เนื่องจากผู้ใช้
สามารถเรียนรู้และใช้งานได้ง่าย
|
- ความยืดหยุ่น
|
- สูงและสามารถปรับปรุงรูปแบบให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหารได้
|
- การใช้งาน
|
- การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ การแก้ไขวิกฤต การตรวจสอบ
และการควบคุมการดำเนินงานของธุรกิจ
|
- การตัดสินใจ
|
- มีข้อมูลไม่ชัดเจน มีความไม่แน่นอนสูง และไม่มีโครงสร้าง
|
- แหล่งที่มาของข้อมูล
|
- ต้องการข้อมูลทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการจากทั้งภายในและภายนอกองค์การ
|
- การแสดงข้อมูล
|
- มีการนำเสนอข้อมูลในหลายรูปแบบ
|
- การตอบสนอง
|
- ชัดเจน รวดเร็ว และตรงตามความต้องการ
|
7. จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง EIS , DSS และ MIS
ตอบ EIS และ DSS ต่างถูกพัฒนาขึ้นเพื่อการจัดการกับข้อมูลให้อยู่ในลักษณะที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้ใช้
แต่ทั้ง 2 ระบบจะมีความแตกต่างกันในระดับของานใช้งาน
การนำเสนอข้อมูล และความยากง่ายในการใช้ โดยสามารถกล่าวได้ว่า EIS เป็น DSS ที่ถูกพัฒนาขึ้นเป็นพิเศษ
เพื่อตอบสนองความต้องกการด้านสารสนเทศในการตัดสินใจแก้ปัญหา
และการดำเนินงานของผู้บริหารที่ไม่ต้องการข้อมูลที่ละเอียดและมีความถูกต้องสมบูรณ์
แต่ต้องสร้างความเข้าใจและให้ภาพรวมของระบบหรือปัญหาที่ผู้บริหารสนใจ โดย EIS อาจได้รัยการออกแบบและพัฒนาจากฐานข้อมูลของ DSS เพื่อให้ผู้บริหารสามารถเรียนรู้ ทำความเข้าใจ
และช้างานระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตลอดจนคณะที่ปรึกษาและผู้ใต้บังคับบัญชาสามารถจัดการข้อมูลที่เกี่ยวข้องใน DSS ถ้าผู้บริหารเกิดความต้องการข้อมูลมากกว่าที่ EIS ถูกพัฒนาขึ้น
8. คุณสมบัติสำคัญของ EIS มีอะไรบ้าง
8. คุณสมบัติสำคัญของ EIS มีอะไรบ้าง
ตอบ 1. สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์
2. เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์การ
3. มีความสามารถในการคำนวณภาพกว้าง
4. งายต่อการเรียนรู้และใช้งาน
5. พัฒนาเฉพาะสำหรับผู้บริหาร
9. ข้อดีและข้อจำกัดในการนำ EIS มาใช้งานในองค์การมีอะไรบ้าง
9. ข้อดีและข้อจำกัดในการนำ EIS มาใช้งานในองค์การมีอะไรบ้าง
ตอบ
ข้อดี
|
ข้อจำกัด
|
-ง่าต่อการใช้งานของผู้ใช้
โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง
|
-มีข้อจำกัดในการใช้งาน
เนื่องจาก EIS ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง
|
-ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
|
-ข้อมูลและการนำเสนออาจไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหาร
|
-ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ในเวลาสั้น
|
-ยากต่อการประเมินประโยชน์
และผลตอบแทนที่องค์กรไดรับ
|
-ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นำเสนออย่างชัดเจน
|
-ซับซ้อนและยากต่อการจัดการข้อมูล
|
-สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
|
-ปัญหาด้านการรักษาความลับของข้อมูล
|
10.ท่านคิดว่าความเห็นมีการประยุกต์ EIS ในองค์กรในประเทศหรือไม่ จงอธิบาย
ตอบ ปัจจุบันพัฒนาการและการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในองค์การ
ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม
ซึ่งก่อให้เกิดความท้าทายแก่ผู้บริหารในอนาคตให้นำเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ธุรกิจ
โดยผู้บริหารต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และวิสัยทัศน์ต่อแนวโน้มของเทคโนโลยี
เพื่อให้สามารถตัดสินใจนำเทคโนโลยีมาใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ
สรุปบทที่ 9 ปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ
ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรคอมพิวเตอร์พยายามพัฒนาอุปกรณ์
และชุดคำสั่งที่สามารถลอกเลียนความฉลาดของมนุษย์ เช่นการเรียนรู้จากประสบการณ์
การใช้ความรู้สึกในการประเมินสถานการณ์ เป็นต้น
ปัจจุบันการศึกษาและค้นคว้าเกี่ยวกับ AI แยกระบบความฉลาดออกเป็นหลายสาขาด้วยกัน
ซึ่งสามารถนำมากล่าวเพียง 5 สาขาดังนี้
- การประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural
Language Processing )
- ระบบภาพ (Vision System)
- ระบบเครือข่ายเส้นประสาท (Neural
Networks)
- หุ่นยนต์ (Robotics)
- ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)
ระบบผู้เชี่ยวชาญ
หมายถึง
ระบบสารสนเทศที่ให้คำปรึกษาที่ลอกเลียนกระบวนการใช้เหตุของผู้เชี่ยวชาญในสาขาความรู้นั้น
โดยปกติธุรกิจมีเหตุผลสำคัญในการพัฒนา ES ดังนี้
- กระจายความรู้ (Knowledge
Distribution)
- ความแน่นอน (Consistency)
- การเตรียมสำหรับอนาคต
ประโยชน์ของ ES
- รักษาและป้องกันความรู้สูญหาย
- เตรียมความพร้อมของข้อมูล
- เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท
- สามารถตัดสินใจปัญหาได้อย่างแน่นอน
- เครื่องมือเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ
การพัฒนาระบบ ES นับว่ามีกระบวนการที่ยุ่งยากซับซ้อน แต่ในที่นี้พอสรุปได้ 5
ขั้นตอนคือ การวิเคราะห์ปัญหา การเลือกอุปกรณ์ การถอดความรู้ การสร้างต้นแบบ
และการขาย การทดสอบ และการบำรุง
ระบบเครือข่ายเส้นประสาทเป็นอีกแขนงหนึ่งของ AI ที่ได้รับความสนใจศึกษาจากนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร
เพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับงานแก้ปัญหาที่ต้องมีการพัฒนาการตามประสบการณ์เนื่องจากระบบเครือข่ายเส้นประสาทจะเลียนแบบการทำงานของสมอง
และระบบประสาทมนุษย์ โดยระบบจะสัมผัส เรียนรู้ จดจำ
และปฏิบัติงานตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพตามการออกแบบ และประสบการณ์ที่สั่งสมมา
ทำให้ระบบเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
คำถามท้ายบทที่ 9
1.
จงอธิบายความหมายของระบบความฉลาดและปัญญาประดิษฐ์ (AI)
ระบบความฉลาด
หมายถึงระบบที่แสดงพฤติกรรมที่สามารถที่แสดงพฤติกรรมที่สามารถกล่าวได้ว่า มีความฉลาดตามความรู้สึกของมนุษย์
ซึ่งการศึกษาด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มักจะเรียนว่า ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI เนื่องจากเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเป็นสาขาวิชาที่มีการพลวัตอย่างรวดเร็ว
ส่งผลให้ความหมายและความเข้าใจในหลายแขนงวิชามีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
AI หมายถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาให้มีความสามรถเรียนรู้
ใช้เหตุผล และปรับปรุงข้อบกพร่องของตนให้ดีขึ้น
2. AI มีการดำเนินงานที่เหมือนหรือแตกต่างจากระบบสารสนเทศทั่วไปอย่างไร
ปัญญาประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทั่วไป
- ประมวลสัญลักษณ์และตัวเลข - ประมวลทางคณิตศาสตร์
- ไม่ดำเนินตามขั้นตอน - วิเคราะห์และแก้ปัญหาตามขั้นตอนทางคณิตศาสตร์
-ให้ความสำคัญกับการรับรู้แบบแผน
3. เราสามารถจำแนก AI ออกเป็นกี่ประเทศ อะไรบ้าง
1. การประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural
Language Processing)
2. ระบบภาพ (Vision System)
3. ระบบเครือข่ายเส้นประสาท (Neural
Networks)
4. หุ่นยนต์ (Robotics)
5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)
4. ระบบผู้เชี่ยวชาญคืออะไร
และมีความเหมือนหรือแตกต่างจาก AI อย่างไร
ระบบสารสนเทศหมายถึงชุดค่ำของคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมความรู้เกี่ยวกับปัญหาเฉพาะเรื่อง
และกระบวนการอนุมานเพื่อนำไปสู่ผลสรุปขอปัญหานั้น
โดยความรู้ที่เก็บรวบรวมอาจเป็นความรู้ที่ถูกบันทึกอย่างเป็นทางการในเอกสารต่าง ๆ
หรือเป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญในสาขานั้น
5.
จงเปรียบเทียบความเหมือนและแตกต่างระหว่างฐานความรู้กับฐานข้อมูล
ความแตกต่างของความรู้และข้อมูล ความชัดเจน ความเป็นสากล
6.
เราสามารถประเมินความรู้ระบบสารสนเทศว่ามีความเชี่ยวชาญในแต่ละสาขาความรู้อย่างไร
การทดสอบแบบ Turning (Turning Test) โดย
กำหนดคอมพิวเตอร์และบุคคลที่มีความรู้ในสาขานั้นตอบคำถามจากผู้สัมภาษณ์
ผู้ตอบคำถาม และระบบความฉลาดถูกจัดให้อยู่ในห้องที่แยกจากกันอย่างเป็นสัดส่วน
7.จงอธิบายขั้นตอนในการพัฒนา ES ตลอดจนเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการพัฒนา ES
กับการพัฒนาระบบสารสนเทศปกติ
กระบวนการพัฒนา ES ออกเป็น 5 ขั้นตอน
1. การวิเคราะห์ปัญหา
ผู้พัฒนาระบบความฉลาดจะดำเนินการพิจารณาถึงความต้องการ ความเหมาะสม
และความเป็นไปได้ของการนำระบบไปใช้งานในสถานการณ์จริงโดยทำเข้าใจกับปัญหา
จัดขั้นตอนในการแก้ปัญหา การกำหนดรูปแบบของการให้คำปรึกษา
ตลอดจนรวบรวมความเข้าใจในสาระสำคัญที่จะนำมาประกอบการพัฒนาระบบ
2. การเลือกอุปกรณ์
ผู้พัฒนาระบบต้องพิจารณาเลือกอุปกรณ์ที่ใช้เป็นส่วนประกอบของ ES ซึ่งแต่ละส่วนจะมีความต้องการอุปกรณ์ที่มีความเหมาะสมแตกต่างกัน
โดยพิจารณาความเหมาะสมของส่วนประกอบที่สำคัญ
3. การถอดความรู้ การถอดความรู้เป็นกระบวนการสำคัญในการพัฒนา ES ซึ่งเราสามารถกล่าวได้ว่า
เป็นหัวใจของการพัฒนาระบบความฉลาด
4. การสร้างต้นแบบ ผู้พัฒนา ES นำเอาส่วนประกอบต่าง ๆ ที่กล่าวประกอบารสร้างต้นแบบ ของ ESโดยผู้พัฒนาระบบจะเริ่มต้นจากกากนำแนวความคิดความคิดทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับระบบที่ต้องการพัฒนาจัดเรียงลำดับ
โดยเริ่มจากเป้าหมายหรือคำตอบของการประมวล การไหลเวียนทางตรรกะของปัญหา
ขั้นตอนแสดงความรู้ การจัดลำคับของขั้นตอนที่จำเป็น
พร้อมทั้งทดสอบการทำงานองต้อนแบบที่สร้างขึ้นว่า สามารถทำงานได้ตามที่ได้วางแผนไว้
5. การขยาย การทดสอบ แลการบำรุงรักษา
หลังจากที่ต้นแบบได้ถูกสร้างขึ้นและสามารถผ่านการทดสอบการทำงานแล้ว
เพื่อที่จะให้ระบบสามารถนำไปใช้ในสภาวการณ์จริงได้
ก็จะทำให้การขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นจากต้นระบบ โดยเฉพาะสวนที่เป็นฐานความรู้
เป็นส่วนที่ใช้อธิบายส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้
และตกแต่งหน้าจอให้มีความเหมาะสมการใช้งานมากขึ้น
เมื่อระบบถูกขยายขึ้นแล้วก็ต้องมีการทดสอบระบบอีกครั้งหนึ่ง
โดยใช้ในกรณีศึกษาที่ทีมพัฒนาพอรู้คำตอบแล้ว
เพื่อตรวจสอบการทำงานของระบบว่าได้ทำงานอย่างถูกต้องหรือไม่
เมื่อได้ผ่านการทดสอบแล้ว ก็พร้อมที่จำเป็นใช้จริงได้
ก็ควรมีหลักเกณฑ์หรือขั้นตอนในการบำรุงรักษาและปรับปรุงอยู่เสมอฐานความรู้
ฐานความรู้ควรต้องได้รับการเพิ่มความรู้ลงไปเป็นระยะ ๆ
เพื่อให้ระบบสามารถมีความรู้เพียงพอในการแก้ปัญหาต่างๆ
8. วิศวกรรมความรู้คืออะไร
และมีความเหมือนหรือแตกต่างจากการวิเคราะห์และออกแบบอย่างไร
วิศวกรความรู้ ซึ่งมีความแตกต่างจาก “นักวิเคราะห์และนัดออกแบบระบบ”
เองจากวิศวกรความรู้จะใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลของการวิเคราะห์และตัดสินใจในปัญหาทั้งจากผู้เชี่ยวชาญ
โยข้อมูลที่ได้จะยากการอธิบายเหตุผลในการตัดสินใจของบุคคลในแต่ละครั้ง
ขณะที่นักวิเคราะห์ระบบจะพัฒนาระบบสารสนเทศจากข้อมูลทางตรรกะและคณิตศาสตร์
9.
จะอธิบายการทำงานของระบบเครือข่ายใยประสาท
ระบบเครือข่ายเส้นประสาทเป็นอีกแขนงหนึ่งของ AI ที่ได้รับความสนใจศึกษาจากนักวิทยาศาสตร์และวิศวกร
เพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับงานแก้ปัญหาที่ต้องมีการพัฒนาการตามประสบการณ์เนื่องจากระบบเครือข่ายเส้นประสาทจะเลียนแบบการทำงานของสมอง
และระบบประสาทมนุษย์ โดยระบบจะสัมผัส เรียนรู้ จดจำ
และปฏิบัติงานตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพตามการออกแบบ และประสบการณ์ที่สั่งสมมา
ทำให้ระบบเกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
10.ท่านคิดว่าแนวโน้มและทิศทางในการพัฒนาระบบความฉลาดของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปในทางใด
การพัฒนาความฉลาดของระบบคอมพิวเตอร์ยังอยู่ในขั้นเริ่มต้น
เมื่อเปรียบเทียบกับความฉลาดของมนุษย์ยังมีความซับซ้อนเกินกว่าที่ระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจะสามารถลอกเลียนแบบได้อย่างสมบูรณ์
การนำระบบความฉลาดมาประยุกต์ในทางธุรกิจจะช่วยสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันแก่องค์การ
และทำให้ธุรกิจมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างรวดเร็ว
ตลอดจนทำให้บุคคลสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ
ซึ่งจะส่งผลถึงการพัฒนาผลิตภาพขององค์การ
สรุปบทที่ 10 การจัดการความรู้
ในสังคมแห่งความรู้ (Knowledge
Society) ความรู้
ถือว่าเป็นทรัพยากรหลักที่มีค่ายิ่งซึ่งแตกต่างจากปัจจัยการผลิตอื่น ๆ
เนื่องจากความรู้เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงและสร้างขึ้นใหม่ได้ตลอดเวลา
ซึ่งสภาวะดังกล่าวได้ก่อให้เกิดความได้เปรียบทางการแข่งขัน โดยลำดับขั้นความรู้สามารถแบ่งออกเป็น
5 ลำดับขั้นคือ ข้อมูล ความรู้ สารสนเทศ ความชำนาญ และความสามารถ
ในเมื่อสารสนเทศและความรู้มีความแตกต่างกัน ดังนั้นการจัดการสารสนเทศ
ไม่สามารถจัดการความรู้ เพราะมีความซับซ้อนมากกว่า จึงมีการจัดการความรู้ หรือ KM เกิดขึ้น ซึ่งการจัดการความรู้
หมาถึงกระบวนการอย่างเป็นระบบที่องค์กรพัฒนาขึ้นมาเกี่ยวกับการแสวงหา การสร้าง
การจัดเก็บ การถ่ายทอด และการใช้การแพร่กระจายความรู้
เพื่อพัฒนาให้องค์การมีความได้เปรียบทางการแข่งขัน
กระบวนการในการจัดการความรู้นั้น มีการจำแนกที่แตกต่างกัน จากการศึกษา
ผู้เขียนมีความคิดเห็นว่ากระบวนการของการจัดการความรู้นั้น ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ
5 ส่วนคือ กระบานการแสวงหา การสร้าง การจัดเก็บ การถ่ายทอด และการใช้แพร่ความรู้
โดยองค์การที่มีความคิดในการจัดการความรู้ จำเป็นต้องพัฒนากระบวนการจัดการความรู้เฉพาะองค์การเองเพื่อให้องค์การสามารถจัดการความรู้ได้เป็นอย่างมีประสิทธิผล
คำถามท้ายบทที่
10
1. เพราะเหตุใดในปัจจุบันความรู้จึงมีความสำคัญกับองค์การ
ในสังคมแห่งการเรียนรู้ (Knowledge Society) ความรู้ถือเป็นทัพยากรหลักที่มีค่าอย่างยิ่งซึ่งแตกต่างจากปัจจัยการผลิตอื่น
ๆ เนื่องจากความรู้เป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงและสร้างขึ้นใหม่ได้ตลอดเวลา
ซึ่งสภาวะดังกล่าวก่อให้เกิดความได้เปรียบทางการข่างขัน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมเศรษฐกิจความรู้ ความรู้เป็นตัวขับเคลื่อนที่สำคัญ
ดังนั้นแนวความคิดการจัดการความรู้ จึงมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งสำหรับองค์การทุกระดับ
2. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างข้อมูล ความรู้ และสารสนเทศ
ข้อมูล
คือข้อเท็จจริงต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน โดยไม่มีการประมวลผลแต่อย่างใด ข้อมูลอาจในรูปตัวเลขตัว
อักษร ข้อความ ภาพ หรือเสียง
สารสนเทศ คือ
การเก็บรวบรวมข้อมูลมาจัดเก็บ ประมวลผล และจัดการให้มีความถูกต้อง
ทันสมัยและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทันที
ความรู้
คือสารสนเทศที่สามารถตีความ ทำความเข้าใจ และนำไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ
3. ลำดับขั้นของความรู้แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
1. ข้อมูล
2. สารสนเทศ
3. ความรู้
4. ความชำนาญ
5. ความสามารถ
4. โมเดลการสร้างความรู้ (SEC) ประกอบด้วยกระบวนการอะไรบ้าง
และแต่ละกระบวนการมีความแตกต่างกันอย่างไร
1. Socialization เป็นกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงความรู้โดยนัย
จึงเป็นการถ่ายโอนความรู้โดยตรงระหว่างบุคคลหรือกลุ่มคนโดยไม่ผ่านการเขียน
เกิดจาการแบ่งปันประสบการณ์เป็นหลัก
2. Externalizatico เป็นกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงความรู้โยนัยไปเป็นความรู้ที่ชัดเจน
ขั้นตอนนี้นับว่าเป็นหัวใจสำคัญของกระบวนการสร้างความรู้
เพราะเป็นขั้นที่มีความรู้โดยนัยถูกทำให้ชัดเจน
โดยมีการถ่ายโอนความรู้ผ่านสื่อต่าง ๆ ทำให้องค์การสามารถจัดเก็บและกระจายความรู้ได้อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น
3. Combination เป็นกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ชัดแจ้ง
คือทำให้ความคิดต่างๆ เป็นระบบจนกลายเป็นความรู้
ความรู้ที่นำมารวบกันนั้นเกิดจาการแลกเปลี่ยนของบุคคลเป็นหลัก
รวมกับความรู้ที่ผ่าสื่อหรือช่องทางความรู้ต่าง ๆ
4. Internalization เป็นกระบวนการของการแลกเปลี่ยนความรู้ที่ชัดแจ้งไปเป็นความรู้โดยนัย
โดยเกิดจากความรู้ต่าง ๆ ที่บุคคลได้รับ
ทั้งที่เป็นความรู้โดยและความรู้ที่ความรู้ที่ชัดแจ้งและนำความรู้ดังกล่าวมาลงมือปฏิบัติ
5. เพราะเหตุใดองค์การปัจจุบันจึงเล็งเห็นความสำคัญของการจัดการความรู้
เพราะองค์กรจะต้องมีความรู้ในด้านต่าง ๆ
เพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ
6. จงอธิบายความหมายของการจัดการความรู้
การจัดการความรู้
หมายถึงกระบวนการอย่างเป็นระบบที่องค์กรพัฒนาขึ้นเกี่ยวกับการแสวงหา การสร้าง
การจัดเก็บ การถ่ายทอด และการใช้/ การแพร่กระจายความรู้
เพื่อพัฒนาได้องค์กรมีความได้เปรียบทางการแข่งขัน
7. กระบวนการจัดการความรู้ประกอบด้วยกระบวนการที่สำคัญกี่ส่วน
อะไรบ้าง
กระบวนการจัดการความรู้ประกอบด้วย 6 ส่วน
1. การสร้างความรู้
(Create)
2.
การจัดและเก็บความรู้ (Capture/Store)
3.
การเลือกหรือกรองความรู้( Refine)
4.
การกระจายความรู้ (Distribute)
5. การใช้ความรู้ (Use)
6.
การติดตาม/ตรวจสอบความรู้(Monitor)
8.ดังที่ Brain Quiun กล่าวไว้ว่า “การจัดการความรู้เป็นกระบวนการ
ไม่ใช้เทคโนโลยีแต่เทคโนโลยีถูกคาดหมายว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้การจัดการความรู้ประสบผลสำเร็จ” ท่านเห็นด้วยหรือไม่ อย่างไร
เห็นด้วย
เพราะเทคโนโลยีช่วยให้ระบวนการจัดการจัดการความรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
แต่สิ่งเหล่านี้จะเป็นจริงไม่ได้หากไม่มีแหล่งข้อมูล
หรือผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้มีความยินดีที่จะแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่น
ลำพังเทคโนโลยีสารสนเทศเองก็ไม่สามารถสร้างความรู้ใหม่ ๆ เพื่อให้เกิดสินค้า
บริการ กระบวนการทำงาน และนวัตกรรมใหม่ได้ เพราะทั้งหมดนี้มีได้ขึ้นอยู่กับการจัดการความรู้
โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส่วนสนับสนุน
ดังนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศไม่ใช่สิ่งรับประกันความสำเร็จของการจัดการความรู้
เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเพียงเครื่องมือเท่านั้น
ความสำเร็จในการจัดการความรู้จึงขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ ไมได้ขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีสารสนเทศเพียงอย่างเดียว
สรุปบทที่
11ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ปัจจุบันสมาชิกหลายส่วนในสังคมสมัยใหม่ได้เริ่มตะหนักถึงศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่เข้ามามีบทบาทในการเปลี่ยนรูปของระบบเศรษฐกิจ สังคม
และการเมืองได้ชัดเจนกว่าอดีต นอกจากนี้เทคโนโลยีสารสนเทศยังสร้างความเปลี่ยนแปลงต่อการทำกิจกรรม
และต่อความสัมพันธ์ของภาคธุรกิจในระดังองค์การ กลุ่ม และบุคคล
โดยเทคโนโลยีสารสนเทศช่วย ให้การดำเนินงานขององค์กรสะดวกรวดเร็ว และถูกต้อง
ตัวอย่างเช่น การเงินและการธนาคาร
ที่บุคคลและสถาบันการเงินสามารถกระทำธุรกรรมทางการเงินระหว่างกัน แม้จะอยู่ห่างกันทางระยะทาง
กรขนส่งวัสดุภัณฑ์ที่สามารถตรวจสอบพิกัดของสิ่งของ สายการบินที่สามารถสำรองที่นั่ง
ตรวจสอบความพร้อมด้านการบิน รวบรวมข้อมูลของผู้โดยสาร
หรือธุรกิจขายสินค้าทางโทรทัศน์ ซึ่งลูกค้าสามารถสั่งซื้อผ่านเครือข่ายใยแก้ว
เป็นต้น ซึ่งเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การ
นอกจากนี้เทคโนโลยีสารสนเทศได้กลายเป็นปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จขององค์การ
โดยเฉพาะในภาคธุรกิจที่มีการแข่งขันอย่างรุนแรง
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจเป็นระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้น
เพื่อสนับสนุนให้การดำเนินงานของธุรกิจเป็นระบบ
โดยถูกออกแบบและพัฒนาให้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ทางธุรกิจ
ตลอดจนช่วยส่งเสริมให้ทั้งองค์การสามารถประสานงานและใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างประสิทธิภาพ
ทั้งในระบบระบบปฏิบัติการและระดับบริหาร
โดยเราสามารถจำแนกระบบสารสนเทศทางธุรกิจออกเป็นระบบย่อยดังต่อไปนี้
ระบบสารสนเทศด้านการบัญชี
ระบบสารสนเทศด้านการเงิน
ระบบสารสนเทศด้านการตลาด
ระบบสารสนเทศด้านการผลิตและการดำเนินงาน
ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคล
ปัจจุบันผู้จัดการด้านต่าง
ๆ ของธุรกิจ เช่น การเงิน การตลาด การผลิต
หรือทรัพยากรบุคคลต่างต้องเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศถูกนำมาประยุกต์ในการดำเนินงานมากขึ้นเรื่อย
ๆ ผู้บริหารที่ขาดทักษะด้านสารสนเทศจะเสียโอกาสในการพัฒนาตนเองและหน่วยงาน
ดังนั้นบุคคลที่ต้องการความสำเร็จในอนาคตต้องติดตาม
และคาดการณ์แนวโน้มของความสัมพันธ์
ระหว่างดำเนินการธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทัน
คำถามท้ายบทที่ 11
1.เหตุใดผู้บริหารระดับสูงสมควรต้องมีความเข้าใจในเทคโนโลยีสารสนเทศ?
ตอบ เพื่อได้มีความพยายามเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่
สร้างโอกาสในการประยุกต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์การและผู้บริหารสามารถจัดการกับเทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ
2.จงอธิบายขั้นตอนในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ในองค์การ?
ตอบ
ขั้นตอนในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ในองค์การ คือ การกำหนดกลยุทธ์, กำหนดแผนงานสารสนเทศระดับองค์การ, ปริมาณโครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศและกำหนดรายละเอียดดำเนินงาน
3.ระบบสารสนเทศด้านบัญชีมีลักษณะอย่างไร
และสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการอย่างไร?
ตอบ มีลักษณะเป็นระบบที่รวบรวม
จัดระบบและนำเสนอสารสนเทศทางการบัญชีที่ช่วยในการตัดสินใจแก่ผู้ใช้สารสนเทศ
และมีความสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการคือมีการจัดสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร
และจะประมวลผลสารสนเทศ
4.ระบบสารสนเทศด้านการเงินจะมีหน้าที่อะไรบ้าง?
ตอบ มีหน้าที่ที่สำคัญ 3 ประการคือ
1.การพยากรณ์ (Forecast) การศึกษา วิเคราะห์ การคาดการณ์
การกำหนดทางเลือกและการวางแผนทางด้านการเงินของธุรกิจ
2.การจัดการด้านการเงิน
(Financial Management) เกี่ยวข้องกับเรื่องการบริหารเงินให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เช่น รายรับรายจ่าย
3.การควบคุมทาการเงิน (Financial control) เพื่อติดตามผล ตรวจสอบ
และประเมินความเหมาะสมในการดำเนินงานว่าเป็นไปตามแผนที่กำหนดหรือไม่โดยที่การตรวจสอบและการควบคุมทางการเงินของธุรกิจสามารถจำแนกออกเป็น
2 ประเภทดังต่อไปนี้
1.การควบคุมภายใน (Internal Control)
2.การควบคุมภายนอก (External Control)
5.ระบบย่อยของระบบสารสนเทศด้านการตลาดมีอะไรบ้าง?
ตอบ ระบบย่อยของระบบสารสนเทศด้านการตลาดมี
8 ระบบดังนี้
1.ระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการขาย
2.ระบบสารสนเทศสำหรับการวิจัยตลาด
3.ระบบสารสนเทศสำหรับการส่งเสริมการขาย
4.ระบบสารสนเทศสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ
5.ระบบสารสนเทศสำหรับพยากรณ์การขาย
6.ระบบสารสนเทศสำหรับการวางแผนกำไร
7.ระบบสารสนเทศสำหรับการกำหนดราคา
8.ระบบสารสนเทศสำหรับการควบคุมค่าใช้จ่าย
6.เราสามารถหาข้อมูลเพื่อประกอบการวางแผนการผลิตและการดำเนินงานขององค์การได้จากแหล่งใดบ้าง? จงอธิบายอย่างละเอียด
ตอบ 1.ข้อมูลการผลิต/การดำเนินงาน(Production/Operations
Data)เป็นข้อมูลจากกระบวนการผลิตหรือการให้บริการ
ซึ่งจะแสดงภาพปัจจัยของระบบการผลิตของธุรกิจว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด
และมีปัญหาอย่างไรในการดำเนินงาน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนในการแก้ปัญหา
และการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานในอนาคต
2.ข้อมูลสินค้าคงคลัง(Inventory Data)บันทึกปริมาณวัตถุดิบและสินค้าสำเร็จรูปที่เก็บไว้ในโกดัง
โดยผู้จัดการต้องพยายามจัดให้มีสินค้าคงคลังในปริมาณไม่เกินความจำเป็นหรือขาดแคลนเมื่อเกิดความต้องการขึ้น
3.ข้อมูลจากผู้ขายวัตถุดิบ(Supplier Data)เป็นข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณ
คุณสมบัติและราคาวัตถุดิบ ตลอดจนช่องทางและต้นทุนในการลำเลียงวัตถุดิบ
ปัจจุบันการพัฒนาระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Data Interchange)หรือที่เรียกว่า EDI ช่วยในการประสานงานระหว่างผู้ขายวัตถุดิบ ธุรกิจ
และลูกค้ามีประสิทธิภาพมากขึ้น
4.ข้อมูลแรงงานและบุคลากร(Labor Force and
Personnel Data)ข้อมูลเกี่ยวกับพนักงานในสายการผลิตและปฏิบัติการ เช่น อายุ การศึกษา
และประสบการณ์ เป็นต้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการจัดบุคลากรให้สอดคล้องกับงาน
ขณะที่ข้อมูลภายนอกเกี่ยวกับตลาดแรงงานจะเป็นประโยชน์ในการวางแผนและจัดหาแรงงานทดแทน
และการกำหนดอัตราค่าจ้างอย่างเหมาะสม
5.กลยุทธ์องค์การ(Corporate Strategy)แผนกกลยุทธ์ขององค์การจะเป็นแม่แบบและแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การผลิตและการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ
7.ระบบการวางแผนความต้องการวัสดุหรือ MRP คืออะไร
และมีประโยชน์ต่อการบริหารการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมอย่างไร?
ตอบ MRP คือระบบสารสนเทศที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับระบบการผลิต
เพื่อประกอบการวางแผนความต้องการวัสดุ
เพื่อให้ธุรกิจสามารถจัดการวัตถุดิบอย่างมีประสิทธิภาพ
และมีประโยชน์ต่อการบริหารการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมคือ
ลดการขาดแคลนวัตถุดิบที่จำเป็นในการผลิต,ประหยัดแรงงาน
เวลา และค่าใช้จ่ายในการติดตามวัตถุดิบ เป็นต้น
8.ข้อมูลจากแผนกกลยุทธ์ขององค์การเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่ทางธุรกิจอย่างไร?
ตอบ
สามารถทำให้การผลิตและการดำเนินงานมีประสิทธิภาพมาก
9.เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคัญต่อการจัดการทรัพยากรบุคคลอย่างไร?
ตอบ
เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคัญในเรื่องการดำเนินงานช่วยให้งานทรัพยากรบุคคลมีประสิทธิภาพมากขึ้น
10.จงยกตัวอย่างความสำคัญของระบบสารสนเทศที่มีต่อการตัดสินใจทางธุรกิจ?
ตอบ การตัดสินใจในเรื่องของค่าจ้างและสวัสดิการ
สรุปท้ายบทที่
12 เทคโนโลยีสารสนเทศกับกลยุทธ์ธุรกิจ
หัวใจสำคัญในการธำรงอยู่ขององค์กรธุรกิจคือ
ธุรกิจต้องสามารถปรับตัวให้อยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างกลมกลืน
และสามารถดำเนินการแข่งขันกับคู่แข่งขันอย่างมีประมิทธิภาพ
แต่การเปลี่ยนแปลงรารวดเร็วและรุนแรงของสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
ส่งผลให้องค์การธุรกิจต้องหาวิธีการที่เหมาะสมในการดำเนินงาน
เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ตลอดจนการรักษาพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง
และสามารถดำรงอยู่อย่างมั่นคงในสังคมซึ่งเราเรียกว่า การดำเนินการเชิงกลยุทธ์
ปัจจุบันเราสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นประโยชน์ต่อองค์การในหลายระดับตั้งแต่การปฏิบัติงานประจำวัน
การจัดทำและเสนอสารสนเทศแก่ผู้บริหาร
จนกระทั่งถึงการดำเนินในระดับกลยุทธ์ขององค์การ
โดยเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนำใช้ในการสร้างและธำรงรักษาความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ
ตังอย่างเช่น
-
การกำหนดโครงสร้างและการดำเนินงานขององค์การใหม่
- การสร้างความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างองค์การกับลูกค้า
ผู้ขายวัตถุดิบ และพันธมิตรธุรกิจ เป็นต้น
ผู้บริหารเป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้องค์การประสบความก้าวหน้าหรืล้มเหลว
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศจะแสดงบทบาทสำคัญ
นอกเหนือจาการสนับสนุนการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศยังมีส่วนในการกำหนอกลยุทธ์ขององค์การ
ดังนั้นถ้าผู้บริหารสามารถนำเทคโนโลยีสารสนเทคมประยุกต์ในการทำงานอย่างเหมาะสมแล้ว
นอกจากจะสามารถสร้างผลงานให้แก่ตนเองแล้ว ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพแก่องค์การด้วย
คำถามท้ายบทที่12
1.เหตุใดองค์การส่วนใหญ่จึงเริ่มพัฒนาระบบสารสนเทศจากความต้องการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฎิบัติ
งานมากกว่าความต้องการสร้างความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์
ตอบ
เพราะการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดีจะทำให้องค์การมีประสิทธิภาพในการดำเนินงานต่างๆได้ และอาจจะทำให้องค์การได้เปรียบคู่แข่ง
ในด้านต่างๆ
2. ความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive
Advantaage) คืออะไร และเกี่ยวข้องกับกลยุทธ์ธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไร
ตอบ ความได้เปรียบในการทำธุรกิจหนึ่ง ๆ
จะพึงแสวงหาหรือทำให้เกิดขึ้นได้เหนือคู่แข่งขันทางธุรกิจของตน
เพื่อประโยชน์และโอกาสในการแข่งขันในด้านการผลิตและการครอบครองตลาด
และคอมพิวเตอร์จะเข้ามามีบทบาทเสริมความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ได้จึงจำเป็นที่จะต้องเข้าใจถึงสภาพการแข่งขันทางธุรกิจที่เป็นอยู่ในปัจจุบันเสียก่อน
3. องค์การจะสามารถธำรงรักษาความได้เปรียบในการแข่งขัน
โดยเฉพาะด้านสารสนเทศอย่างไร
ตอบ 1.ดำเนินการก่อน (First Mover) ธุรกิจสามารถสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันจากการผลิตสินค้า
หรือให้บริการใหม่ แก่ลูกค้าก่อนคู่แข่ง
2.ผู้นำด้านเทคโนโลยี
(Technological Leadership) ปัจจุบันเทคโนโลยีสมัย ใหม่โดยเฉพาะ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำเนินธุรกิจ
เราจะพบว่าเทคโนโลยีสารสนเทศเริ่มมีบทบาท
ในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันธุรกิจ
3.เสริมสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง (Continuous
Innovation) การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในปัจจุบัน ส่งผลให้ธุรกิจมี นวัตกรรมของ
ผลิตภัณฑ์และ บริการที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าอย่างต่อเนื่อง
4. จงอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างระบบสารสนเทศ กลยุทธ์
และโครงสร้างขององค์การ
ตอบ โครงสร้างขององค์การธุรกิจสามารถพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์การ ซึ่งประกอบไปด้วยฐานข้อมูลต่าง ๆ ขึ้นใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5. ท่านมีความเห็นอย่างไรเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารกับเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเปรียบเทียบความแตกต่างในประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา
ตอบ มีความคิดเห็นว่าผู้บริหารไทยไม่ด้อยกว่าต่างชาติ
ขอเพียงแต่ผู้บริหารไทยศึกษาหาความรู้ในนวัตกรรมใหม่ๆ (New Innovation) และศึกษาการวางแผนกลยุทธ์ต่างๆ
6.
ผู้บริหารสมควรทำอย่างไรเพื่อให้ทราบความต้องการด้านสารสนเทศขององค์การในอีก 5
ปีข้างหน้า
ตอบ องค์การที่จะอยู่รอดและมีพัฒนาการต้องสามารถยู่ปรับตัวและจัดการกับเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
เทคโนโลยีสารสนเทศที่จะมีผลต่อการดำเนินธุรกิจในอนาคตเพื่อให้ผู้บริหารในฐานะหัวใจสำคัญของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์การได้ศึกษา
แต่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศอาจทำให้เทคโนโลยีที่กล่าวถึงในที่นี้ล้าสมัยได้ในระยะเวลาอันรวดเร็วดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ผู้บริหารที่สนใจจะต้องศึกษาติดตามความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
7. จงอธิบายบทบาทของผู้บริหารระดับสูงที่มีต่อการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการกำหนดกลยุทธ์ขององค์การ
ตอบ 1. ผู้บริหารต้องหาแนวทางในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ในการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือบริการ เช่น วิศวกรรมคู่ขนาน (Concurrent
Engineering) โดยการ ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ (Computer
Aided Design , CAD) ในการออกแบบ พัฒนาและตรวจสอบผลิตภัณฑ์ในเวลาเดียวกัน
เป็นต้น เพื่อให้ผลิตภัณฑ์หรือบริการมีคุณภาพ มีความทันสมัยและสอด
คล้องความต้องการของลูกค้า ตลอดจนสนับสนุนการจัดโครงสร้างองค์การ ให้สามารถ
ใช้ทรัพยากร ร่วมกัน และสอดคล้องกัน
2.
ผู้บริหารต้องส่งเสริมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้ในการ ต่อเชื่อม ระหว่าง
หน่วยงาน ทั้ง ภายในและภายนอกองค์การ เพื่อให้การสื่อสาราข้อมูลมีความสะดวก
รวดเร็ว ถูกต้อง และทั่วถึง ซึ่งจะทำให้ บุคคลเกิดความเข้าใจและสามารถปฏิบัติงาน
ร่วมกัน อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดความ รู้สึกที่ดีต่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจาก
นี้ผู้บริหาร
3.ผู้บริหารต้องวางแผน
ความสำเร็จของการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในการดำเนินงานขององค์การธุรกิจ
เกิดจากการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน ของเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Infrastructure) ที่สอด คล้องกับสถานการณ์และกลยุทธ์ขององค์การ
8. เหตุใดองค์การจึงต้องกำหนดความต้องการก่อนหลังด้านสารสนเทศ
ตอบ เพื่อให้ทราบว่าองค์การต้องการอะไร เป้าหมายขององค์การเป็นอย่างไร
เพื่อที่จะวางแผนและปฏิบัติงานให้ตรงตามเป้าหมาย
9.
เราสามารถประเมินคุณภาพของการดำเนินการด้านสารสนเทศในแต่องค์การอย่างไร
ตอบ - พิจารณาว่าเป็นเรื่องที่ตรงกับความต้องการของเราอย่างแท้จริงหรือไม่
-
พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่
-
พิจารณาว่าเนื้อหาของสารสนเทศอยู่ในระดับใด
10.
เหตุใดธุรกิจจึงต้องจัดตั้งคณะกรรมการด้านสารสนเทศขึ้นเพื่อทำการตัดสินใจในงานสำคัญด้านสารสนเทศขององค์การ
ตอบ เพราะจะได้บุคลากรที่มีความรู้ในงานเฉพาะด้าน
และการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
จะแตกต่างจากระบบสารสนเทศสำหรับการปฏิบัติการที่แลกเปลี่ยน
เก็บรวบรวม และประมวลผลข้อมูลคือ DSS จะจัดการเก็บข้อมูลให้ป็นสารสนเทศที่เหมาะสมกับการตัดสินใจของผู้ใช้
โดย DSS จะใช้ข้อมูลที่ประมวลผลจากกระบวนการปฏิบัติการมาจัดระเบียบ
และวิเคราะห์ตามคำสั่งและความสนใจของปัญหานอกจากนี้ DSS ยังช่วยเร่งพัฒนาการและความเข้าใจในศักยภาพการทำงานของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ครอบคลุม
มากกว่าปฏิบัติงานประจำวัน
9.
ปัจจุบันองค์การสามารถพัฒนา DSS อย่างไร
ตอบ 1. การวิเคราะห์ระบบ (System
Analysis) ขั้นตอนแรกในการพัฒนา DSS โดยมีเป้าหมายเพื่อที่จะกำหนดถึงปัญหา
ตลอดจนวิเคราะห์หาขั้นตอนที่สำคัญในการตัดสินใจแก้ปัญหานั้น ๆ
โดยผู้ที่จะใช้ระบบสมควรที่จะมีส่วนรวมในขั้นตอนนี้เป็นอย่างยิ่ง
2. การออกแบบ (System Design) จะเป็นระบบสารสเทศที่มีความพิเศษในตัวเองที่สามารถเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปเรื่อย
ๆ ผู้ออกแบบควรจะออกแบบให้ระบบมีความยืดหยุ่นสูง สามารถปรับตัวได้ตามความเหมาะสม
3. การนำไปใช้ (Implemrntaion) DSS จะแตกต่างจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทั่วไป
ที่ผู้ใช้จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบจากแรกเริ่มต้นจนถึงสภาวะปัจจุบัน
และจะพัฒนาต่อไปในอนาคต
10.
จงอธิบายความหมายและประโยชน์ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับกลุ่ม (GDSS)
ตอบ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับกลุ่มคือ
เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการตัดสินใจของกลุ่ม
การที่ GDSS จะถูกนำมาใช้อย่างประสบความสำเร็จขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สำคัญ 3
ประการ
- อุปกรณ์
- ชุดคำสั่ง
- บุคลากร
ประโยชน์ของ GDSS
1. ช่วยในการเตรียมความพร้อมในการประชุม
2.มีการจัดเตรียมข้อมูลและสารสนเทศที่เหมาะสมในการประชุม
3.สร้างบรรยากาศในการร่วมมือกันระหว่างสมาชิก
4.สนับสนุนการมีส่วนร่วมและกระตุ้นการแสดงความคิดเห็นของสมาชิก
5.มีการจัดลำดับความสำคัญก่อนหลังของปัญหา
6.ช่วยในการประชุมบรรลุผลในระยะเวลาที่สมควร
7.มีหลักฐานการประชุมแน่ชัด
สรุปบทที่ 13
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ในปัจจุบันพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นอีกเครื่องมือและกลยุทธ์หนึ่งสำคัญ
ที่จะช่วยให้องค์การมีความได้เปรียบคู่แข่ง ซึ่งพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง
เป็นการดำเนินธุรกิจโดยการแลกเปลี่ยนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
หรือการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
การจำแนกประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สามารถจำแนกได้ 4
ลักษณะดังนี้ ธุรกิจกับธุรกิจ (B2B), ธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C) , ธุรกิจกับรัฐบาล (B2G) และผู้บริโภคกับผู้บริโภค (C2C) ส่วนรูปแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สามารถแบ่งได้ 6 รูปแบบดังนี้
รายการสินค้าออนไลน์ การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ การประมูลอิเล็กทรอนิกส์
การประกาศซื้อ – ขายสินค้า
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์
การทำการค้าบนโลกอินเทอร์เน็ตก็มีเอกลักษณ์ที่แตกต่างจากการค้าขายทั่วๆไป
ทำให้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีข้อแตกต่างไปจากการดำเนินธุรกิจทั่วไป
- การเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล
- การตอบสนองเพื่อการแข่งขัน
- การให้บริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง
- การควบคุมและปฏิสัมพันธ์ได้ด้วยตนเอง
- การสร้างร้านค้าเสมือนจริง
- การติดตามพฤติกรรมของผู้บริโภค
- โครงข่ายเศรษฐกิจ
- การเสริมสร้างภาพลักษณ์อันดี
การที่องค์การจะนำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้งาน
เพื่อช่วยสนับสนุนในการดำเนินธุรกิจนั้น
จำเป็นต้องพิจารณาปัจจัยด้านต่างๆทั้งข้อดีและข้อเสีย
ทั้งนี้เพื่อรอบรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นซึ่งข้อดีของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น
สามารถเข้าถึงลูกค้าได้เป็นจำนวนมาก สามารถประหยัดเวลาและต้นทุนในการรับส่งสินค้ากับบริการ
และสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายด้านการติดต่อสื่อสาร เป็นต้น
ส่วนข้อเสียของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น
ความน่าเชื่อถือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยังไม่มีความแน่นอน
ต้นทุนในการพัฒนาค่อนข้างสูง หรือลูกค้ายังไม่สามารถเชื่อมั่นเกี่ยวกับคุณภาพสินค้า
เป็นต้น
ส่วนหลักการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ต่างจากหลักการตลาดทั่วไป
ซึ่งเรียกว่า หลักการตลาด 6Ps ประกอบด้วย
ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย การส่งเสริมการขาย การรักษาความเป็นส่วนตัว
และการให้บริการแบบเจาะจง อีกทั้งยังพบปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดต่างๆ
ในการดำเนินงานของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งพบว่า
รัฐบาลควรมีมาตรการดำเนินการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์อย่างรีบด่วน
เพื่อให้ผู้ที่ต้องการทำการค้าด้วยระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีความมั่นใจ
นอกจากนี้ต้องมีกฎหมายรัดกุมและต้องส่งเสริมศักยภาพในการแข่งขันของไทยกับต่างประเทศ
รวมทั้งการส่งเสริมความรู้ทางด้านสารสนเทศด้วย
คำถามทบทวนท้ายบทที่ 13
1.จงอธิบายความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ เป็น
การดำเนินการธุรกิจโดยการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้า
ข้อมูล และบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
เป็นต้น
2.เพราะเหตุใดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์จึงเป็นอีกเครื่องมือและกลยุทธ์หนึ่งที่สำคัญในการช่วยให้องค์การมีความได้เปรียบคู่แข่ง
ตอบ เป็น องค์ประกอบพื้นฐานสำคัญอย่างหนึ่งในการดำเนินธุรกิจ
และเป็นเครื่องมือหนึ่งที่จะช่วยทรงเสริม และเพิ่มช่องทางให้กับธุรกิจ
ซึ่งแฝงไปด้วยทั้งทางตรงและทางอ้อมสำหรับผู้ประกอบการ
3.ประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สามารถจำแนกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ สามารถจำแนกได้ 4 ลักษณะดังนี้ ธุรกิจกับธุรกิจ(B2B), ธุรกิจกับผู้บริโภค(B2C), ธุรกิจกับรัฐบาล(B2G) และผู้บริโภคกับผู้บริโภค(C2C)
4.พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีข้อแตกต่างไปจากการดำเนินธุรกิจทั่วไปอย่างไร
ตอบ พาณิชย์อิเล็กทรอนิคส์มีข้อแตกต่างจากการดำเนินการทั่วไปดังนี้
1. เพื่อประสิทธิภาพและระสิทธิผล
2. การตอบสนองเพื่อการแข่งขัน
3. ให้บริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง
4. ควบคุมและปฎิสัมพันธ์ได้ด้วยตัวเอง
5. สร้างร้านค้าเสมือนจริง
6. ช่วยติดตามพฤติกรรมผู้บริโภค
7. ส่งเสริมภาพลักษณ์อันดี
8. สร้างโครงข่ายเศรษฐกิจ
5.หลักการตลาดของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วยอะไรบ้าง จงอธิบาย
ตอบ ประกอบด้วย
1.ผลิตภัณฑ์ สินค้าหรือผลิตภัณฑ์จะต้องตรงตามความต้องการของลูกค้า
2.ราคา ควรตั้งราคาให้เหมาะสมกับตลาดและผู้บริโภค
3.ช่องทางการจัดจำหน่าย หาทำเลการค้าที่ดี
4.การส่งเสริมการขาย
กระบวนการที่จะทำให้ขายสินค้าได้มาก เช่น การลด แลก แจก แถมสินค้า
เพื่อสนองความต้องการของลูกค้า
5.การ รักษาความเป็นส่วนตัว
คือการเก็บข้อมูลความเป็นส่วนตัวของลูกค้า
ผู้ดูแลเว็บไซต์จึงจำเป็นต้องสร้างระบบความปลอดภัยที่เชื่อถือได้ว่าข้อมูล เหล่านี้จะไม่ถูกจารกรรมออกไปได้
6.การให้บริการแบบเจาะจง
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตทำให้เว็บไซต์สามารถเก็บข้อมูลของลูกค้าแต่ละคนได้
6.จงยกตัวอย่างข้อดีของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ สามารถ เข้าถึงลูกค้าได้เป็นจำนวนมาก
สามารถประหยัดเวลาและต้นทุนในการรับส่งสินค้ากับบริการ
และสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายด้านการติดต่อสื่อสาร
7.จงยกตัวอย่างข้อเสียของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตอบ ความ
น่าเชื่อถือต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยังไม่มีความแน่นอน
ต้นทุนในการพัฒนาค่อนข้างสูงหรือลูกค้ายังไม่สามารถเชื่อมั่นเกี่ยวกับ
คุณภาพสินค้า
8.ปัญหาที่พบในการดำเนินงานของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
มีอะไรบ้าง
ตอบ 1. ปัญหาในเรื่องของผู้ประกอบการ
2. ปัญหาในเรื่องของบุคลากรยังไม่มีความพร้อม
3. ปัญหาในเรื่องของการตลาด
4. ขาดความเชื่อมั่นในผลตอบแทนที่จะได้รับ
5. ปัญหาในเรื่องของความเชื่อมั่นในระบบรักษาความปลอดภัย
6. ความเชื่อถือของผู้บริโภคที่มีต่อของธุรกิจ
ว่าจะได้สินค้าที่มีคุณภาพตามความต้องการ
7. ค่าบริการใช้อินเทอร์เน็ตและค่าบริการสื่อสารยังมีราคาแพง
8. กลุ่มเป้าหมายทางการค้าหรือประชาชนนั้นยังขาดทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
9. ผู้ประกอบการยังกังวลกับกฎหมายที่รองรับการประกอบการ
สรุปท้ายบทที่
14 แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การดำเนินชีวิตในสังคมสารสนเทศจะมีการพัฒนา
และนำเทคโนโลยีระดับสูงมาสนับสนุนการทำงานและการดำรงชีวิตของมนุษย์
โดยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยนี้จะพัฒนารวดเร็วกว่าสมันอุตสาหกรรมและ
เกษตรกรรมมาก ข้อมูลและข่าวสารจะมีการเคลื่อนย้ายอย่างรวดเร็วและอิสระ
พรมแดนทางการเมืองจะลดความสำคัญลงเมื่อเทียบกับระบบเศรษฐกิจการค้าที่ขยาย
ตัวสู่ระดับโลกในที่สุด
ประชาชนจะมีความเป็นอิสระในการรับรู้ข่าวสารและแสดงความคิดเห็นเพิ่มขึ้น
เนื่องจากมีทางเลือกในการตัดสินใจมากขึ้น
ส่งผลให้ธุรกิจบริการขยายตังเพิ่มรองรับความต้องการที่แตกต่างของลูกค้า
ในขณะที่องค์การต่าง ๆ จะมีการปรับโครงสร้างและขั้นตอนการทำงาน
โดยที่หลายหน่วยงานมีการลดขนาดลง บางหน่วยงานศึกษาถึงการปรับตัวให้มีขนาดที่เหมาะสม
หรือแม้กระทั่งการรื้อปรับระบบ
เพื่อให้สามารถดำเนินงานแข่งขันกับธุรกิจอื่นอย่างคล่องตัว
ความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของเทคโนโลยี
โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์และการสื่อสารโทรคมนาคม
ทำให้ผู้บริหารไม่สามารถมองข้ามหรือปล่อยให้หัวหน้างาน หรือหน่วยงานสารสนเทศดุแลรับผิดชอบต่อการกำหนดนโยบาย
และการใช้งานเทคโนโลยีเพียงฝ่ายเดียวประกอบกับการกระจายตัวของการใช้ระบบ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในหน่วยงานต่างๆ ทำให้สมาชิกในองค์การมีความคุ้นเคย
และเข้าใจศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้นจึงต้องมีการกำหนดทิศทางการ จัดการเทคโนโลยีร่วมกัน
ซึ่งต้องได้รับการเริ่มต้นและส่งเสริมจากผู้บริหารระดับสูง
ดังนั้นผู้บริหารจึงต้องเข้าใจเทคโนโลยีที่มีต่อองค์การ
โดยติดตามข่าวสารข้อมูลของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโลกเทคโนโลยี
นอกจากนี้การจัดตั้งคณะกรรมการสารสนเทศขององค์การจากบุคคลหลายกลุ่ม
จะช่วยให้การกำหนดนโยบายด้านสารสนเทศขององค์การมีความชัดเจน แน่นอน และถูกต้อง
คำถามท้ายบทที่
14
1. จงยกตัวอย่างของการปรับองค์การในยุคสารสนเทศ
ตอบ -
องค์กรขนาดใหญ่ปรับตัวเป็นกลุ่มองค์กรขนาดย่อม เพื่อความคล่องตัวการปฏิบัติงาน
การประสานงาน การแข่งขัน และรองรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
- มีการสนับสนุนการปฏิบัติงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
โดยที่ผู้จัดการหรือหัวหน้างานจะเปลี่ยนแปลงหน้าที่จากผู้สั่งการมาเป็นผู้ฝึกสอน
ผู้ประสานงาน และอำนวยความสะดวกในการทำงาน
- ระบบการเข้าทำงานแบบยืดหยุ่นจะถูกนำมาใช้
แรงงานบางส่วนสามารถทำงานอยู่ที่บ้าน
ขณะที่หลายฝ่ายสามารถเลือกเวลาทำงานและเลือกงานที่เหมาะสมได้เอง
2. เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบต่อการปรับโครงสร้างหรือการรื้อปรับระบบขององค์การอย่างไร
ตอบ กิจกรรม
ทางธุรกิจก็ต้องมีเปลี่ยนแปลงตามการพลวัตของสังคมที่ถูกผลักดันด้วน
เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น
กิจกรรมทางการเงินที่ต้องกระทำต่อเนื่องตลอดทั้งวันทั้งคืนการผลิตและการ
ตลาดต้องปรับตัวเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่มีหลากหลายขึ้น
ช่องทางการจัดจำหน่ายจะมีมากขึ้นกว่าในอดีต
3. ผู้บริหารสมควรจะเตรียมความพร้อมในการนำองค์การเข้าคู่ยุคสารสนเทศอย่างไร
ตอบ 3.1
ติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกิดขึ้น
ตลอดจนทำความเข้าใจบทบาทของเทคโนโลยีใหม่ที่จะมีผลกระทบต่อองค์การละอนาคต
3.2
พิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และกำลังจะเกิดขึ้นในแต่ละหน่วยงาน
โดยเฉพาะความต้องการทางด้านข้อมูลข่าวสาร เพื่อหาแนวโน้มความต้องการ จัดทำแผน
แลแนวการพัฒนาเทคโนโลยีขององค์การ
3.3 เตรียม
ความพร้อมด้านบุคลากรและงบประมาณ
เพื่อรองรับต่อการนำเทคโนโลยีมาใช้เนื่องจากการจัดการเทคโนโลยีไม่สามารถใช้
เงินซื้อหามาเพียงอย่างเดียว แต่ต้องมีความเข้าใจในศักยภาพและความพร้อมของบุคลากรประกอบด้วย
4. เทคโนโลยีที่มีผลต่อการดำเนินงานขององค์การมีอะไรบ้าง
ตอบ -
การปรับปรุงรูปแบบการทำงานขององค์การ
- การสนับสนุนการดำเนินงานเชิงกลยุทธ์
- เครื่องมือในการทำงาน
- การเพิ่มผลผลิตของงานโดยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
- เทคโนโลยีในติดต่อการสื่อสาร
5. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมีผลต่อการดำเนินงานองค์การอย่างไร
ตอบ
โดยที่คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในขณะนี้มีความสามารถเท่าเทียมหรือมากกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ในสมัยก่อน
ตลอดจนการนำคอมพิวเตอร์ชนิดชุดคำสั่ง (Reduced
Instruction Set Computer) หรือRISC มาใช้ในการออกแบบหน่วยประเมินผล
นอกจากนี้พัฒนาการและการประยุกต์และการประยุกต์ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ
ทั้งสาขาวิทยาศาสตร์ สมหลักเหตุผลของมนุษย์หรืระบบปัญญาประดิษฐ์
6. เทคโนโลยี RISC มีผลต่อพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ในอนาคตอย่างไร
ตอบ ใช้ในการออกแบบหน่วยประเมินผล
ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้รวดเร็วขึ้นโดยใช้คำสั่งพื้นฐานง่าย ๆ
7. จงอธิบายความหมายและประโยชน์ในการใช้งานของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ตอบ ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
เป็นการนำเอาระบบคอมพิวเตอร์ทางด้านรูปภาพ
และข้อมูลทางภูมิศาสตร์มาจัดแผนที่ในบริเวณที่สนใจ GIS สามารถนำมาประยุกต์ให้เป็นประโยชน์ในการดำเนินกิจการต่างๆ
เช่น การวางแผนยุทธศาสตร์ การกำหนดนโยบายการพัฒนาประเทศและท้องถิ่น
การวางแผนทางการตลาด การบริหารการขนส่ง การสำรวจและวางแผนป้องกันภัยธรรมชาติ
การช่วยเหลือแลกู้ภัย เป็นต้น
8. เหตุใดผู้บริหารระดับสูงจึงเป็นหัวใจสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์การ
ตอบ
เพราะผู้บริหารจะต้องกำหนดนโยบาย กำหนดกลยุทธ์ วางแผนต่าง ๆ ในบริษัท
และผู้บริหารก็ต้องมความเข้าใจในเทคโนโลยีอีกด้วยเพื่อที่จะไปพัฒนาบริษัทให้ดีขึ้น
9. ปัจจุบันคนไทยมีความพร้อมในการก้าวไปสู่สังคมสารสนเทศเพียงไร
โดยเฉพาะความรู้และความเข้าใจในศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตอบ - ทำความเข้าใจต่อบาบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจปัจจุบัน
- ระบบสารสนเทศเกี่ยวข้องกับการจัดการข้อมูลขององค์การ
- วางแผนที่จะสร้างและพัฒนาระบบ
10.จงยกตัวอย่างปัญหาด้านจริยธรรมหรือความรับผิชอบต่อสังคมที่มีความสัมพันธ์กับการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตอบ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศจะเกี่ยวข้องกับจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
เช่นดารไหลเวียนของข้อมูลผ่านขอบเขตตัวของพนังงาน
การทุจริตหรือฉ้อโกงในระบบเครือข่าย การก่อการร้ายหรืหารจารกรรม เป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น